แนวทางปฏิบัติในการเปิดเผยสารสนเทศของบริษัทจดทะเบียน

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้กำหนดแนวทางปฏิบัติในการเปิดเผยสารสนเทศของบริษัทจดทะเบียนไว้ ตามแนวทางดังต่อไปนี้ ได้แก่ 1 การเปิดเผยสารสนเทศที่สำคัญให้ประชาชนทราบ 2 การเผยแพร่สารสนเทศต่อประชาชนอย่างทั่วถึง 3 การชี้แจงกรณีที่มีข่าวลือต่างๆ 4 การดำเนินการเมื่อมีการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนผิดไปจากสภาพปกติของตลาด 5 การเปิดเผยในเชิงส่งเสริมที่ไม่มีเหตุอันควร 6 การซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนโดยใช้ข้อมูลภายใน โดยอาจสรุปแนวทางในการเปิดเผยสารสนเทศของบริษัทจดทะเบียนดังกล่าว ในที่นี้ สารสนเทศที่สำคัญได้แก่ สารสนเทศที่มีผลต่อราคาหลักทรัพย์ หรือ สำคัญต่อการตัดสินใจลงทุน หรือ มีผลกระทบต่อสิทธิประโยชน์ของผู้ถือหุ้นแบ่งเป็น 2 ประเภทหลักๆ ได้แก่ 1 สารสนเทศที่รายงานตามรอบระยะเวลาบัญชี ได้แก่ งบการเงิน…

Continue Readingแนวทางปฏิบัติในการเปิดเผยสารสนเทศของบริษัทจดทะเบียน

ปัญหาของการบังคับใช้ General Data Protection Regulation (GDPR) ของสหภาพยุโรป

เนื่องจากการบัญญัติให้General Data Protection Regulation (GDPR) ของสหภาพยุโรปขยายการบังคับใช้ไปถึงประเทศที่อยู่นอกอาณาเขตของสหภาพยุโรป (EU) ด้วย เพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งส่งผลกระทบกับประเทศที่มีการดำเนินธุรกรรมต่าง ๆ กับประเทศของสมาชิกสหภาพยุโรป เนื่องจากมีผลบังคับใช้กับหน่วยงานไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน หรือภาคธุรกิจที่มีการเก็บข้อมูลส่วนบุคคล ตลอดจนผู้ให้บริการในรูปแบบออนไลน์แก่บุคคลที่อยู่ใน EU หลาย ๆ หน่วยงานจึงให้ความสำคัญในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลให้มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงการเก็บรักษาและการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในกรณีที่มีการละเมิดตามกฎหมาย GDPR ซึ่งได้กำหนดบทลงโทษเอาไว้ โดยกำหนดค่าปรับทางแพ่งสูงสุดถึง 20 ล้านยูโร หรือประมาณร้อยละ 4 ของรายได้ทั้งปีทั่วโลก รวมถึงการกำหนดสิทธิให้เจ้าของข้อมูลสามารถสั่งให้องค์กรทำการลบข้อมูลที่มีอยู่หรือในกรณีที่เห็นว่าไม่จำเป็นแล้ว…

Continue Readingปัญหาของการบังคับใช้ General Data Protection Regulation (GDPR) ของสหภาพยุโรป

Data Protection Impact Assessment : DPIA คืออะไร สำคัญอย่างไร

การจัดทำ Data Protection Impact Assessment : DPIA การประเมินผลกระทบด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หรือ Data Protection Impact Assessment : DPIA มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นถึงความรับผิดชอบต่อการเก็บ ใช้ รวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลของประชาชน ซึ่งเป็นกลไกในการกำกับดูแลและเพื่อเตือนภัยล่วงหน้า ผลกระทบเชิงลบที่อาจเกิดขึ้นและการบรรเทาผลกระทบของความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับข้อมูลส่วนบุคคล โดยลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นกับข้อมูล รวมถึงลดโอกาสที่ทำให้เกิดความบกพร่อง หรือการกระทำที่ขัดแย้งกับกฎหมาย ซึ่งพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลนั้นได้กำหนดหน้าที่ในการเก็บ รวบรวม ใช้ และลบข้อมูลส่วนบุคคล โดยกำหนดหน้าที่ให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลมีหน้าที่ต้องประเมินความเสี่ยง และจัดให้มีมาตรการความปลอดภัยที่เหมาะสม[1] ขั้นตอนและกระบวนการในการทำ…

Continue ReadingData Protection Impact Assessment : DPIA คืออะไร สำคัญอย่างไร