การออกแบบการวิจัยการตลาด

            การออกแบบการวิจัยการตลาด เป็นการออกแบบกระบวนการในการเก็บ รวบรวม วิเคราะห์ ตีความ และรายงานข้อมูลทางการตลาดของสินค้าและบริการอย่างเป็นระบบ มีระเบียบ แบบแผน ที่ใช้ในการจัดการข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจ โดยเริ่มตั้งแต่การเก็บรวบรวม บันทึก ประมวลผล วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมายของผลที่ได้ และการนำเสนอข้อมูลหรือการรายงานผลการวิจัยเพื่อใช้ดำเนินงานและตัดสินใจทางการตลาด             การวิจัยการตลาด หมายถึง กระบวนการและขั้นตอนในการออกแบบ เก็บรวบรวม ดำเนินการวิเคราะห์และประมวล ข้อมูลด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตลาด เช่น ข้อมูลภายในองค์กรธุรกิจเอง ข้อมูลของลูกค้า ข้อมูลของคู่แข่งขัน และสภาพการแข่งขันในธุรกิจ ฯลฯ…

Continue Readingการออกแบบการวิจัยการตลาด

การออกแบบการวิจัยสำหรับตลาดที่มีการแข่งขันอย่างรุนแรง

            ในปัจจุบันสภาพการแข่งขันทางธุรกิจทวีความรุนแรงมากขึ้น องค์กรธุรกิจจึงต้องการข้อมูลทางการตลาดเพื่อตัดสินใจทางการตลาดในหลากหลายด้าน ทั้งส่วนประสมทางการตลาด การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค ทัศนคติ รสนิยม และความพึงพอใจของลูกค้า ความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ ที่วางจำหน่ายในท้องตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์ การพิจารณาปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าหรือผู้บริโภคให้ได้ดีที่สุด การวิจัยและศึกษาความเป็นไปได้ทางธุรกิจ ฯลฯ ซึ่งองค์กรธุรกิจสามารถใช้ประโยชน์จากผลที่ได้จากการวิจัยการตลาดเพื่อช่วยในการตัดสินใจในการดำเนินงานด้านการตลาดต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น             การออกแบบการวิจัย (Research Design) หมายถึง การกำหนดแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอน โดยมีการกำหนดรูปแบบหรือโครงร่างในการทำวิจัยไว้ล่วงหน้า ศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง วางกรอบและกำหนดขอบเขตและวางรูปแบบในการวิจัย และรูปแบบในการเก็บรวบรวมข้อมูล กำหนดรูปแบบและระเบียบวิธีวิจัยให้เหมาะสมกับลักษณะของงานวิจัยที่ต้องการทำ โดยผู้วิจัยควรต้องมีการระบุกิจกรรมและรายละเอียดของกิจกรรมต่างๆ เริ่มตั้งแต่…

Continue Readingการออกแบบการวิจัยสำหรับตลาดที่มีการแข่งขันอย่างรุนแรง

Marketing Trend for Brands to be considered

การเปลี่ยนแปลงของเทรนด์ที่สำคัญที่แบรนด์ควรจับตามองเพื่อเติบโตไปข้างหน้าในโลกที่ทุกอย่างย้ายไปอยู่บนอินเทอร์เน็ทประกอบด้วย Customer Behavior is the new black: เมื่อความท้าทายของแบรนด์ไม่ใช่ “แบรนด์คู่แข่ง” อีกต่อไป โดยสิ่งที่เห็นได้ชัดในช่วง 2 ปีที่ผ่านมาก็คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภค ซึ่งกลายเป็นความท้าทายใหม่ของแบรนด์ โดยในอดีตนั้น แบรนด์มักจะให้ความสำคัญกับสถานการณ์ของตลาดและการเดินเกมของคู่แข่งเป็นอันดับต้นๆ แต่ตอนนี้แบรนด์ต้องหันมาใส่ใจกับไลฟ์สไตล์และพฤติกรรมของผู้บริโภคมากขึ้น จากผลสำรวจพฤติกรรมของคนหลังจากเกิดการระบาดของโรคโควิด-19 ของ PricewaterhouseCoopers (PwC) พบว่าคนระวังการใช้เงินมากขึ้น เพราะยังไม่วางใจว่าสถานการณ์การระบาดจะยืดเยื้อไปถึงเมื่อไร นอกจากนี้ ผู้บริโภคยังปรับเปลี่ยนไลฟ์สไตล์ให้สอดคล้องกับสภาพคล่องทางการเงินและสุขภาพอีกด้วย โดยคนไทยกว่า 57% มีแนวโน้มรับประทานอาหารที่ร้านน้อยลง และซื้อกลับบ้านมากขึ้น และ…

Continue ReadingMarketing Trend for Brands to be considered