การเป็นพิธีกรมืออาชีพเบื้องต้น

พิธีกร (Master of Ceremonies) หรือเอ็มซี (MC) หมายถึง ผู้ดำเนินการในพิธี เช่น พิธีกรในงานมงคลสมรส หรือผู้ดำเนินรายการ เช่น พิธีกรในการสัมมนา (สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2554) พิธีกรจึงเป็นผู้ดำเนินรายการในงานพิธีต่างๆต้นแต่เริ่มต้นจนกระทั่งจบงาน ดังนั้นพิธีกรจะต้องรู้ขั้นตอนของงาน และสามารถจัดลำดับงานได้อย่างเหมาะสม โดยเป็นผู้พูดสื่อสารกับผู้ได้รับเชิญและแขกที่มาร่วมงาน และเป็นผู้พูดสื่อสารกับวิทยากรและผู้เข้าร่วมการประชุมสัมมนา (ตรีมินทร์ เกษมวิรัติพงศ์, ม.ป.ป.)หน้าที่ของพิธีกรพิธีกรมีหน้าที่หลายประการ สรุปพอสังเขปได้ดังนี้ (ตรีมินทร์ เกษมวิรัติพงศ์, ม.ป.ป.)1. เป็นผู้แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าระหว่างการดำเนินรายการ2. เป็นผู้ให้ข้อมูล ได้แก่…

Continue Readingการเป็นพิธีกรมืออาชีพเบื้องต้น

หลักกฎหมายความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่รัฐ

Add Your Heading Text Here พัฒนาการของหลักกฎหมายความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ช่วงดังนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ.2475 จนถึงวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง เป็นการรับผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ตั้งแต่วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 เป็นต้นมา ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง เป็นการรับผิดตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539 และประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ความรับผิดของเจ้าหน้าที่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ก่อน วันที่ 15…

Continue Readingหลักกฎหมายความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่รัฐ

หลักกฎหมายปกครองจากรัฐธรรมนูญ

                หลักกฎหมายปกครองจากรัฐธรรมนูญ คือ หลักกฎหมายในระดับกฎหมายรัฐธรรมนูญที่นำมาใช้กับกฎหมายปกครอง โดยหลักกฎหมายปกครองจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2560 จะมีหลักการอยู่ 3 หลัก คือ หลักพื้นฐานทางรัฐธรรมนูญ หลักการตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำทางปกครอง และ หลักกฎหมายปกครองจากรัฐธรรมนูญ ซึ่งจะกล่าวโดยสรุปดังต่อไปนี้ หลักพื้นฐานทางรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วย 3 หลัก ได้แก่ 1. หลักความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ มีเงื่อนไขคือ        1) รัฐธรรมนูญต้องเป็นหลักเกณฑ์ในการตรากฎหมาย    …

Continue Readingหลักกฎหมายปกครองจากรัฐธรรมนูญ