แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการกำหนดมูลค่าหลักทรัพย์ (1)

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดมูลค่าหลักทรัพย์ที่จะอธิบายในที่นี้ ประกอบด้วย (1) ลักษณะเชิงคุณภาพของรายงานทางการเงินหรืองบการเงิน (2) ตลาดที่มีประสิทธิภาพ และ (3) ทฤษฎีการประเมินมูลค่าทางตรง สำหรับใน Post นี้จะกล่าวถึงประเด็นที่ (1) ก่อน ส่วนประเด็นที่เหลือจะได้อธิบายใน Post ต่อไป ลักษณะเชิงคุณภาพของรายงานทางการเงินหรืองบการเงิน ตามกรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน (2563) กำหนดลักษณะเชิงคุณภาพไว้ 2 ส่วนคือ (1) ลักษณะเชิงคุณภาพพื้นฐาน (Fundamental Qualitative Characteristic) และ (2)…

Continue Readingแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการกำหนดมูลค่าหลักทรัพย์ (1)

ตัวแบบความเกี่ยวข้องในการกำหนดมูลค่าหลักทรัพย์ (2)

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

จากตัวแบบ Ohlson (1995) ที่อธิบายไว้ใน Post ที่แล้ว แสดงได้ดังนี้ Pit       =        ß0 + ß1EPSit + ß2BVSit + ß3Vit + eit ตัวแปร Pit นักวิจัยก็กำหนดนิยามที่แตกต่างกันไป เช่น งานวิจัยของ Badu และ Appiah (2018) ใช้ราคาหุ้น 3 เดือนหลังสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี…

Continue Readingตัวแบบความเกี่ยวข้องในการกำหนดมูลค่าหลักทรัพย์ (2)

ตัวแบบความเกี่ยวข้องในการกำหนดมูลค่าหลักทรัพย์ (1)

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

งานวิจัยที่ใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในงบการเงินและตลาดทุนนั้น เรียกว่า Capital Market-based Accounting Research หรือ CMBAR (Beisland, 2009) โดยงานวิจัยที่เป็นจุดเริ่มต้นการหาความสัมพันธ์ดังกล่าวคือ งานวิจัยของ Ball และ Brown (1968) ซึ่งสรุปผลว่ากำไรทางบัญชีมีความสัมพันธ์กับราคาหลักทรัพย์ หลังจากนั้นงานวิจัยในลักษณะ CMBAR จึงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน และตัวแบบที่ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายและยังคงได้รับความนิยมคือ ตัวแบบ Ohlson (1995) ซึ่งแสดงได้ดังนี้                    Pit       =        ß0 +…

Continue Readingตัวแบบความเกี่ยวข้องในการกำหนดมูลค่าหลักทรัพย์ (1)