ความเสี่ยงด้านระบบบัญชีการเงิน (2)

ปัจจัยเสี่ยงด้านระบบบัญชีการเงิน สถานการณ์หรือสัญญาณเตือน (Red Flags) ที่อาจเพิ่มความเสี่ยงเกิดการทุจริตและข้อผิดพลาด สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทดังนี้ 1.ปัจจัยความเสี่ยงด้านระบบบัญชีการเงิน มีสาเหตุเกิดจาก คน เช่น ผู้บริหารปฏิบัติตนอยู่เหนือระบบการควบคุมภายใน และเป็นเหตุแห่งความล้มเหลวของระบบการควบคุมภายในโดยใช้อำนาจสั่งการเป็นอย่างอื่น เพื่อปกปิดความผิดพลาดในการบริหาร การให้ความไว้วางใจ หรือให้อำนาจแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งมากเกินไป จนทำให้บุคคลนั้นทำรายการผิดพลาดโดยเจตนาได้พนักงานไม่ยอมใช้สิทธิลาพักผ่อนประจำปี หรือหลีกเลี่ยงการเลื่อนตำแหน่ง เนื่องจากเกรงว่าผู้มาทำหน้าที่แทนจะพบข้อผิดพลาดของตนที่ปิดบังไว้ หรือเนื่องจากสามารถหาผลประโยชน์จากตำแหน่งที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน สัญญาณเตือนอื่นๆ เช่น พนักงานมีขวัญและกำลังใจที่ตกต่ำ พนักงานขาดความรู้ความชำนาญในหน้าที่งาน พนักงานทำงานล่วงเวลามากเกินไป ไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย ผู้บริหารรวบอำนาจไว้ เป็นต้น 2.ปัจจัยความเสี่ยงด้านระบบบัญชีการเงิน…

Continue Readingความเสี่ยงด้านระบบบัญชีการเงิน (2)

ความเสี่ยงด้านระบบบัญชีการเงิน (1)

ความเสี่ยงด้านระบบบัญชีการเงิน รูปแบบการทุจริตที่มีผลต่อความเสี่ยงด้านระบบบัญชีการเงินที่สำคัญมีต่อไปนี้ การกระทำทุจริตโดยบุคลากรที่อยู่ในองค์กร (White-Collar) คือรูปแบบการกระทำทุจริตโดยบุคลากรที่อยู่ในองค์กร เป็นชนชั้นที่ปฏิบัติงานอยู่ในสำนักงานทั่วไป การกระทำทุจริตโดยคนงานที่ใช้แรงงาน  (Blue-Collar) คือ รูปแบบการกระทำทุจริตโดยคนงานที่ใช้แรงงาน เป็นชนชั้นกรรมกร การที่บุคคลหรือนิติบุคคลถือหลักทรัพย์แทนบุคคลใดบุคคลหนึ่ง (Nominee) คือ บุคคลหรือนิติบุคคลที่ถือหลักทรัพย์แทนบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นที่แท้จริงและเป็นผู้ได้รับประโยชน์แท้จริงจากหลักทรัพย์นั้นๆ มีทั้งทางด้านสุจริต เช่น เพื่อความสะดวกในการซื้อขายหุ้นของคนในครอบครัวเดียวกัน การรักษาความลับในการลงทุนโดยเฉพาะนักลงทุนต่างชาติ และเพื่อความสะดวกและความคล่องตัวในการบริหารพอร์ตการลงทุน ในทางด้านทุจริตเพื่อหลบเลี่ยงกฎหมาย เช่น กฎการห้ามถือครองทรัพย์ ห้ามการสร้างราคา (ปั่นหุ้น) และกฎหมายฟอกเงิน การขโมยเงินจำนวนเล็กน้อย (Round Down Fraud)…

Continue Readingความเสี่ยงด้านระบบบัญชีการเงิน (1)

การเตรียมตัวเป็นผู้สอบบัญชี (2)

ประเด็นที่พิจารณาผู้สอบบัญชีภาษีอากร (TA)ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (CPA)11. ชื่อรายงานผลการตรวจสอบ  รายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี  มี 2 กรณีตามข้อ 9 คือ 1) รายการการตรวจสอบและรับรองบัญชี 2) รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต12. เรื่องที่ผู้สอบบัญชีรับผิดชอบ ตามที่กล่าวไว้ในรายงานผลการตรวจสอบการรายงาน (ไม่ได้แสดงความเห็น)  มี 2 กรณีตามข้อ 9 คือ 1) การรายงาน (ไม่ได้แสดงความเห็น) 2) การแสดงความเห็น13. การพัฒนาความรู้ต่อเนื่องของวิชาชีพและจำนวนชั่วโมงขั้น ต่ำต่อปีเข้ารับการอบรมความรู้ ทางด้านกฎหมายภาษีอากร…

Continue Readingการเตรียมตัวเป็นผู้สอบบัญชี (2)