หลักธรรมทางพระพุทธศาสนากับจรรยาวิชาชีพวิจัย

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่สอดคล้องกับจรรยาวิชาชีพวิจัยและแนวทางปฏิบัติ ได้แก่ หลักฆราวาสธรรม 4 หลักสัปปุริสธรรม 7 และหลักอิทธิบาท 4 รายละเอียดของหลักธรรมมีดังนี้ 1. หลักฆราวาสธรรม 4 เป็นหลักธรรมสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพต่าง ๆ ใช้ยึดเป็นคุณธรรมพื้นฐานของจิตใจในการครองชีวิต ให้ประสบความสุขสมบูรณ์ และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่บุคคลทั้งหลาย ประกอบด้วยธรรม 4 ประการ ได้แก่ 1.1 สัจจะ (ความซื่อสัตย์) นักวิจัยด้านการท่องเที่ยวจำเป็นต้องมีความซื่อสัตย์ในทุกขั้นตอนของกระบวนการวิจัย ตั้งแต่ก่อนการดำเนินงานวิจัย ระหว่างดำเนินงานวิจัย และหลังการดำเนินงานวิจัยรวมถึงการเผยแพร่ผลงานวิจัยและการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ เสนอข้อมูลและแนวคิดโดยสุจริตไม่สร้างผลงานวิจัยอันเป็นเท็จ และไม่จ้างวานผู้อื่นทำวิจัยให้…

Continue Readingหลักธรรมทางพระพุทธศาสนากับจรรยาวิชาชีพวิจัย

ลักษณะสำคัญของการวิจัยด้านการท่องเที่ยว

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

การวิจัยเป็นวิธีการแสวงหาความรู้ที่มีประสิทธิภาพ ช่วยทำให้ได้ข้อเท็จจริง หรือความรู้ที่ถูกต้อง เที่ยงตรงมากกว่าวิธีการอื่น เนื่องจากมีลักษณะสำคัญ ดังนี้ 1. การให้ความสำคัญกับการตั้งคำถาม (Research Question-oriented) การวิจัยด้านการท่องเที่ยวเริ่มต้นได้ด้วยการตั้งคำถามที่แต่ละคนสนใจแล้วพัฒนาเป็นโจทย์การวิจัย 2. การสนับสนุนความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creativity) การตั้งคำถามในการวิจัยด้านการท่องเที่ยวช่วยทำให้เกิดความคิดใหม่ ๆ ที่น่าสนใจและนำไปสู่การพยายามหาคำตอบ และการค้นพบสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมโลก 3. การให้ความสำคัญกับระเบียบวิธีวิจัย (Methodology-oriented) การวิจัยด้านการท่องเที่ยวเป็นกระบวนการที่มีระบบ ขั้นตอนและแบบแผนที่แน่นอน ชัดเจน ตลอดจนมีการรายงานผลการวิจัยต่อสาธารณะที่ทำให้ได้ข้อสรุปที่มีความเที่ยงตรง เป็นกลางและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม 4. การเป็นเรื่องสาธารณะมากกว่าเรื่องส่วนตัว (Public Interest)…

Continue Readingลักษณะสำคัญของการวิจัยด้านการท่องเที่ยว

“บีโอคิว” ชื่อนี้มักจะถูกหยิบยก อ้างถึง หากกล่าวถึงมูลค่าของสิ่งปลูกสร้างใดๆ จะขอกล่าวถึงเบื้องต้นสำหรับผู้ที่ไม่คุ้นเคยและไม่ได้อยู่ในแวดวงด้านการก่อสร้าง

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

Bill of Quantities: BOQ หรือชื่อภาษาไทย คือ บัญชีแสดงปริมาณและราคางาน (Bill of Quantities: BOQ) คือ เอกสารที่แสดงรายละเอียดของราคาค่าก่อสร้าง ซึ่งมีการแยกปริมาณวัสดุ ปริมาณแรงงาน ราคาต่อหน่วยของทั้งวัสดุและแรงงาน ที่ได้มาจากการสำรวจปริมาณจากแบบก่อสร้างทั้งหมด ทั้งจากแบบสถาปัตยกรรม แบบโครงสร้าง และแบบวิศวกรรมงานระบบต่างๆ โดยจะแบ่งแยกเป็นหมวดงานต่างๆ อย่างละเอียด เช่น งานเตรียมพื้นที่ งานโครงสร้าง ได้แก่ ฐานราก คาน เสา โครงสร้างพื้น…

Continue Reading“บีโอคิว” ชื่อนี้มักจะถูกหยิบยก อ้างถึง หากกล่าวถึงมูลค่าของสิ่งปลูกสร้างใดๆ จะขอกล่าวถึงเบื้องต้นสำหรับผู้ที่ไม่คุ้นเคยและไม่ได้อยู่ในแวดวงด้านการก่อสร้าง