ความรู้ขั้นพื้นฐาน สำหรับรหัสมาตรฐานสากลสำหรับงานก่อสร้าง แบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก ประกอบด้วย (1) UniFormat และ (2) MasterFormat

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

โดยทั้งสองรหัสมาตรฐานได้รับการเผยแพร่และใช้งานอย่างกว้างขวาง โดยถือเป็นมาตรฐานขององค์กรที่ใช้สำหรับการออกแบบอาคารและการก่อสร้างในทวีปอเมริกาเหนือที่เป็นจุดเริ่มต้น ทั้งนี้เจตนารมณ์ สำหรับมาตรฐานทั้งสองนั้นมีความแตกต่างกัน โดย UniFormat ถือเป็นการจัดรูปแบบบนพื้นฐานในเชิงระบบ (Systems-based organization) เพื่อรองรับในส่วนประกอบของอาคาร ส่วน MasterFormat เป็นการจัดรูปแบบบนพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับวัสดุ (Material-based organization) ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญ เพื่อรองรับในส่วนประกอบของอาคารเช่นเดียวกัน ทั้งนี้จุดเริ่มต้นของรหัสมาตรฐาน UNIFORMAT เกิดขึ้นจากสององค์กรในช่วงเวลานั้น คือ สถาบันสถาปนิกแห่งอเมริกัน American Institute of Architects (AIA) และ หน่วยงานสนับสนุนกิจการของฝ่ายบริหารของประเทศสหรัฐอเมริกา (The U.S. General…

Continue Readingความรู้ขั้นพื้นฐาน สำหรับรหัสมาตรฐานสากลสำหรับงานก่อสร้าง แบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก ประกอบด้วย (1) UniFormat และ (2) MasterFormat

Identified Challenges Faced by the Construction Sector During the COVID-19 Pandemic.

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

ความท้าทายที่ภาคการก่อสร้างเผชิญในช่วงการระบาดของ COVID-19 Human development and management issues: ประเด็นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการบริหาร Shut-down of the construction siteOn-going construction projects abandonedUnder-utilisation of manpower and machinesInterruption of terms and conditions of contractWorkforce staff including some management,…

Continue ReadingIdentified Challenges Faced by the Construction Sector During the COVID-19 Pandemic.

การจัดทำโครงงานเพื่อพัฒนางานประจำทางด้านการจัดการงานก่อสร้าง

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

การจัดทำโครงงานเพื่อการพัฒนางานประจำเป็นการทำงานในลักษณะเดียวกันกับการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research: R2R) ซึ่งหมายถึง การใช้งานวิจัยหรือโครงงานเป็นเครื่องมือในการสร้างความรู้เพื่อนำมาพัฒนางานประจำ ในขณะเดียวกันก็ทำให้ผู้ทำงานประจำมีโอกาสคิด ทดลอง ตั้งโจทย์ให้มีความชัดเจนขึ้น แล้วทำการทดลองเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุปผล ซึ่งผลของการจัดทำโครงงานเพื่อการพัฒนางานประจำ ไม่ได้มีเป้าหมายให้ได้เฉพาะผลงานของโครงงานเท่านั้น แต่ยังต้องการที่จะนำผลงานจากการทำโครงงานไปใช้เพื่อพัฒนางานประจำอีกด้วย การจัดทำโครงงานเพื่อการพัฒนางานประจำจึงนับเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคน เพื่อพัฒนางาน และเป็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) การจัดทำโครงงานเพื่อการพัฒนางานประจำ มีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ หัวข้อโครงงาน ต้องมาจากปัญหาหน้างานเพื่อการพัฒนางานประจำผู้ทำโครงงาน ต้องเป็นผู้ทำงานประจำนั้นเอง โดยมีบทบาทหลักในการรับผิดชอบโครงงานผลลัพธ์ของโครงงาน ต้องส่งผลต่อตัวผู้ทำโครงงานหรืองานประจำที่ทำการนำผลของโครงงานไปใช้ประโยชน์ ผลของโครงงานจะต้องเป็นวงจรวนกลับไปปรับปรุงให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดีขึ้นในองค์กร ถือเป็นการสนับสนุนให้เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในองค์การก่อสร้างด้วย สำหรับแนวทางในการจัดทำโครงงานเพื่อการพัฒนางานประจำ…

Continue Readingการจัดทำโครงงานเพื่อพัฒนางานประจำทางด้านการจัดการงานก่อสร้าง