หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้ในการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย

1. การคำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย การคำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ต้องคำนวณตามหลักเกณฑ์ วิธีการและอัตราที่กฎหมายกำหนดไว้ โดยจะกระทำเมื่อมีการจ่ายเงินได้ประเภทที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย เท่านั้น ซึ่งหากเงินส่วนใดยังไม่มีการจ่ายก็จะไม่อยู่ในบังคับให้ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย 2. การออกหนังสือรับรองการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ผู้จ่ายเงินได้ที่มีหน้าที่หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ต้องออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายให้แก่ผู้ถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย โดยหนังสือรับรองการหักภาษีเงินได้ ณ…

Continue Readingหน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้ในการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย

ประเภทของภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย อาจแบ่งได้ 2 ประเภท คือ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย และ ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย .1 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย แบ่งได้ 2 กรณี ดังนี้ .1.1 กรณีประมวลรัษฎากรกำหนดให้ผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) (2) (3) (4) (5)…

Continue Readingประเภทของภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

การคำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

ถ้าบุคคลธรรมดาที่ได้รับเงินได้พึงประเมินเป็นรายเดือน เดือนๆ ละเท่ากันตลอดปีภาษี ให้คำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตามลำดับขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1.ให้คำนวณหาจำนวนเงินได้พึงประเมินเสมือนว่าได้จ่ายทั้งปี โดยนำเงินได้พึงประเมินที่จ่ายแต่ละคราวคูณด้วย จำนวนคราวที่ต้องจ่ายเงินได้ต่อปี เช่น กิจการจ่ายค่าจ้างเป็นรายเดือน ให้คูณด้วย 12 จ่ายถ้ากิจการค่าจ้างเป็นรายสัปดาห์ ให้คูณด้วย 52 ถ้ากิจการจ่ายค่าจ้างเป็นรายวันให้คูณด้วย 365 กรณีเข้าทำงานในระหว่างปีซึ่งเป็นปีเริ่มแรกของการทำงาน ให้คูณเงินได้พีงประเมินที่จ่ายแต่ละคราวในปีที่เข้าทำงานด้วยจำนวนคราวที่ต้องจ่ายเงินได้จริงสำหรับปีนั้น เช่น นายหมอชิต เข้าทำงานเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม และกิจการได้จ่ายเงินได้เป็นรายเดือน ดังนั้นก็ให้คูณจำนวนคราวที่จ่ายเงินได้เพียง 3 เดือนเท่านั้น…

Continue Readingการคำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย