จุดความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม

 การประกอบกิจการ จุดความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม-กรณีทั่วไป จุดความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม-ข้อยกเว้น1.การขายสินค้าทั่วไปส่งมอบสินค้า1) โอนกรรมสิทธิ์สินค้า หรือ 2) ได้รับชำระราคาสินค้า หรือ 3) ได้ออกใบกำกับภาษี2.การขายสินค้าตามสัญญาให้เช่าซื้อถึงกำหนดชำระราคาในแต่ละงวด1) ได้รับชำระราคาสินค้า หรือ 2) ได้ออกใบกำกับภาษี 3. การขายสินค้าโดยมีการตั้งตัวแทนเพื่อขายตัวแทนได้ส่งมอบสินค้าให้แก่ผู้ซื้อ1) ตัวแทนได้โอนกรรมสิทธิ์ในสินค้าให้แก่ผู้ซื้อ หรือ 2) ตัวแทนได้รับชำระราคา หรือ 3) ได้มีการนำสินค้าไปใช้ไม่ว่าโดยตนเองหรือบุคคลอื่น4.การขายสินค้าโดยการส่งออก         1) ชำระอากรขาออก หรือ 2) วางหลักประกันอากรขาออกมีการออกใบขนสินค้าขาออกตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร5. การให้บริการทั่วไปได้รับชำระราคาค่าบริการ1) ได้ออกใบกำกับภาษี หรือ 2)…

Continue Readingจุดความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม

หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้ในการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย

1. การคำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย การคำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ต้องคำนวณตามหลักเกณฑ์ วิธีการและอัตราที่กฎหมายกำหนดไว้ โดยจะกระทำเมื่อมีการจ่ายเงินได้ประเภทที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย เท่านั้น ซึ่งหากเงินส่วนใดยังไม่มีการจ่ายก็จะไม่อยู่ในบังคับให้ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย 2. การออกหนังสือรับรองการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ผู้จ่ายเงินได้ที่มีหน้าที่หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ต้องออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายให้แก่ผู้ถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย โดยหนังสือรับรองการหักภาษีเงินได้ ณ…

Continue Readingหน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้ในการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย

ประเภทของภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย อาจแบ่งได้ 2 ประเภท คือ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย และ ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย .1 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย แบ่งได้ 2 กรณี ดังนี้ .1.1 กรณีประมวลรัษฎากรกำหนดให้ผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) (2) (3) (4) (5)…

Continue Readingประเภทของภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย