กระบวนการเขียนตำรา (Process of Writing a Book)

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

กระบวนการในการเขียนตำรานั้น ผู้เขียนจะต้องรู้ชื่อเรื่องที่จะเขียน จากนั้นดำเนินการสร้างเค้าโครงเรื่อง โดยต้องมีองค์ความรู้ทั้งที่เป็นความรู้สั่งสมจากประสบการณ์และความรู้ในเชิงทฤษฎีหรือความรู้ที่เปิดเผยแล้ว ซึ่งเป็นความรู้เชิงประจักษ์ที่เป็นแนวคิด ทฤษฎี หลักการ หรือผลงานวิจัย ที่ได้รับการพิสูจน์และเป็นที่ยอมรับ นอกจากนี้การเขียนตำราที่ดีต้องคำนึงถึงความสละสลวยของภาษาและความถูกต้องด้านภาษา สิ่งเหล่านี้จะช่วยเพิ่มคุณค่าของตำรา และยังแสดงถึงลีลาการนำเสนอของผู้เขียน สะท้อนถึงวิธีคิดและภูมิปัญญาของผู้เขียน ทำให้การเขียนตำรามีความแตกต่างจากตำราอื่นที่มีอยู่แล้ว นอกจากนี้ผู้เขียนตำราควรคำนึงถึงจรรยาบรรณและจริยธรรมในการเขียนตำราด้วย กระบวนการในการเขียนตำรามีขั้นตอนดังนี้ 4.1 การเลือกหัวข้อเรื่อง การเลือกหัวข้อเรื่องมีความสำคัญต่อการแต่งตำราเพราะผู้เขียนต้องคำนึงถึงความรู้และประสบการณ์ของผู้เขียน ความสนใจของผู้อ่านซึ่งถือเป็นการตลาด นอกจากนี้ผู้เขียนตำราควรหลีกเลี่ยงการเขียนที่ซ้ำกับท้องตลาดหากไม่มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบันมากกว่าหรือเด่นกว่า ทั้งนี้ การตั้งชื่อเรื่องอาจมาตั้งตั้งแต่แรกหรือตั้งชื่อเรื่องในภายหลังได้เพื่อให้สอดคล้องหรือครอบคลุมประเด็นที่เขียน และควรคำนึงถึงการตั้งชื่อที่ดึงดูดความสนใจแก่ผู้อ่าน ทั้งนี้ชื่อเรื่องอาจเป็นประโยคบอกเล่าหรือประโยคคำถามก็ได้ 4.2 การระดมความคิดจากความรู้ที่มีอยู่ในเรื่องที่จะเขียน เป็นการระดมความคิดและความรู้ที่เป็นประเด็นของเรื่องที่จะเขียนและสื่อสารเป็นตัวอักษร ทั้งนี้จะมีทั้งหัวเรื่องที่เป็นประเด็นหลัก ประเด็นรองที่มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกัน…

Continue Readingกระบวนการเขียนตำรา (Process of Writing a Book)

ลักษณะคุณภาพตำรา (Quality of books)

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

คุณภาพของตำราสามารถแบ่งได้เป็น 3 ระดับที่สำคัญ ดังนี้ 2.1 ระดับ B  เป็นตำราที่มีเนื้อหาสาระทางวิชาการถูกต้องสมบูรณ์และทันสมัย มีแนวคิดและการนำเสนอที่ชัดเจนเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา 2.2 ระดับ A  ใช้เกณฑ์เดียวกับระดับ B  และต้อง 2.2.1 มีการวิเคราะห์และเสนอความรู้หรือวิธีการที่ทันสมัยต่อความก้าวหน้าทางวิชาการและเป็นประโยชน์ต่อวงวิชาการ 2.2.2 มีการสอดแทรกความคิดริเริ่มและประสบการณ์หรือผลงานวิจัยของผู้เขียนที่เป็นการแสดงให้เห็นถึงความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน 2.2.3 สามารถนำไปใช้อ้างอิงอย่างกว้างขวางต่อวงวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติ มีความละเอียดและความลุ่มลึกทางวิชาการในระดับสูง  2.3 ระดับ A +  ใช้เกณฑ์เดียวกับระดับ A  และต้อง 2.3.1…

Continue Readingลักษณะคุณภาพตำรา (Quality of books)

Wage Structure Implement

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

ขั้นตอนในการจัดทำโครงสร้างค่าจ้าง แบ่งเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้   1) การจัดโครงสร้างตำแหน่งงานขององค์กร                 การวิเคราะห์งาน การจัดทำคำพรรณนาลักษณะงาน การประเมินค่างาน             และการจำแนกตำแหน่งงาน   2) การวิเคราะห์ค่าตอบแทนในปัจจุบันขององค์กร                 การวิเคราะห์ข้อมูลค่าตอบแทนปัจจุบัน วัตถุประสงค์/นโยบายขององค์กร                ความคิดเห็นจากฝ่ายต่าง ๆ ผลสรุปขั้นสุดท้าย   3) การสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลค่าตอบแทนจากองค์กรภายนอก                   การวิเคราะห์แนวโน้มค่าตอบแทนภายนอก การสำรวจข้อมูลค่าตอบแทนภายนอก   4)…

Continue ReadingWage Structure Implement