ทิศทางและแนวโน้มการทำงานในศตวรรษที่ 21 (3)

เป้าหมายการทำงานที่เปลี่ยนไปของคนทำงานในศตวรรษ21 โดย อ.ดร.สุปัญญดา สุนทรนนธ์ 1.เป้าหมายที่ต้องการเป็นผู้ประกอบการมากขึ้น คนวัยทำงานยุคนี้โดยส่วนใหญ่คือคน Gen Y (คนที่เกิดพ.ศ.2523-2543) ที่มีลักษณะไม่ชอบการผูกมัด ต้องการทำงานอย่างมีความสุขมากกว่าสนใจแต่เรื่องเงิน อีกทั้งมีค่านิยมรักอิสระ ชอบการเป็นนายตัวเองมากกว่าอยู่ภายใต้การควบคุม การทำธุรกิจส่วนตัวหรือเป็นเจ้าของกิจการจึงตอบโจทย์ได้เป็นอย่างดี 2.เป้าหมายการทำงานมุ่งไปที่งานเฉพาะทางมากขึ้น เป้าหมายในการทำงานหรือประกอบอาชีพในปัจจุบันได้แก่ กลุ่มอาชีพอิสระต่างๆ กลุ่มอาชีพด้านโลจิสติกส์ กลุ่มการส่งของเดลิเวอรี่ กลุ่มผู้ประกอบอาหาร กลุ่มงานด้านภาษาต่างประเทศ กลุ่มงานบริการที่บ้าน เช่น งานซ่อมแซมบ้าน การบริการเกี่ยวกับสัตว์ กลุ่มงานด้านสุขภาพและยา (รวมถึงกลุ่มงานทางการแพทย์ หมอ พยาบาล นักกายภาพบำบัด นักโภชนาการ…

Continue Readingทิศทางและแนวโน้มการทำงานในศตวรรษที่ 21 (3)

ทิศทางและแนวโน้มการทำงานในศตวรรษที่ 21 (2)

โดย อ.ดร.สุปัญญดา สุนทรนนธ์ 5 ทิศทางและแนวโน้มการทำงานในศตวรรษที่ 21 1.มีการใช้เทคโนโลยีทดแทนมนุษย์มากขึ้น  โลกปัจจุบันไม่ได้ต้องการเด็กที่ถูกปั๊มออกมาเหมือนๆ กันทุกคนจากแม่พิมพ์เดียวกันอีกต่อไป โลกกำลังผลัดเปลี่ยนจากยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมเดิม เข้าสู่ ‘โลกยุคดิจิตอล’ อย่างเต็มรูปแบบ และโลกไม่ได้ค่อยๆเปลี่ยนแต่เป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน (Disruptive) เปลี่ยนอย่างรวดเร็วจนสะบัดคนที่ตามไม่ทันหลุดออกไปจากตลาดแรงงาน  (ยกตัวอย่าง ธนาคาร คนในโรงงานการผลิต CP) 2.รูปแบบและพฤติกรรมการทำงานเปลี่ยนไป   หลายบริษัท หลายองค์กรมีแนวโน้มปรับตัวเกี่ยวกับพฤติกรรมการทำงานเพื่อตอบรับความต้องการของพนักงานมากขึ้น โดยรูปแบบและพฤติกรรมที่มีแนวโน้มได้รับความนิยมมากขึ้น ได้แก่ ค่านิยมการทำงานแบบพาร์ทไทม์ (Part-time) หรือการทำงานแบบไม่เต็มเวลา ค่านิยมการทำงานแบบยืดหยุ่น…

Continue Readingทิศทางและแนวโน้มการทำงานในศตวรรษที่ 21 (2)

ทิศทางและแนวโน้มการทำงานในศตวรรษที่ 21 (1)

โดย อ.ดร.สุปัญญดา สุนทรนนธ์ 3 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการทำงานในศตวรรษที่ 21 1.ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี และการสื่อสาร (Technology and Communication) ในเรื่องการทำงานความก้าวหน้าของเทคโนโลยีมีผลอย่างมากต่อทิศทางและแนวโน้มการทำงานในอนาคต เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) หรือหุ่นยนต์ (Automation and robotics) เป็นที่นิยมแพร่หลาย และหลายองค์กรนำหุ่นยนต์หรือปัญญาประดิษฐ์มาใช้แทนแรงงานมนุษย์ เนื่องจากมีความแม่นยำกว่า มีประสิทธิภาพมากกว่า ตัวอย่างเช่น การนำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) หรือหุ่นยนต์ (Automation and robotics) มาใช้ด้านการตลาด…

Continue Readingทิศทางและแนวโน้มการทำงานในศตวรรษที่ 21 (1)