แนวคิดและทฤษฎีการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจะเกิดขึ้นได้ในพื้นที่ที่มีองค์ประกอบอย่างน้อย 1 ใน 4Hs (Heritage, History, Habitat and Handicraft) กล่าวคือ (1) พื้นที่ประเภทที่มีแหล่งเป็นมรดก (Heritage) ทำให้เกิดการท่องเที่ยวในทางวัฒนธรรมหรือโบราณคดี (2) พื้นที่ประเภทที่มีแหล่งความเป็นประวัติศาสตร์ (History) จะเป็นแหล่งให้เกิดการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมที่เป็นประวัติศาสตร์ (3) พื้นที่ประเภทที่มีปรากฏเป็นร่องรอยชุมชนการอยู่อาศัย (Habitat) เป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด สามารถเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมชุมชน วิถีชีวิต และ (4) พื้นที่ประเภทที่มีงานศิลปหัตถกรรม (Handicraft) จะเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมประเภทงานศิลปะ ประเพณี…

Continue Readingแนวคิดและทฤษฎีการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

การพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

การพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ถือเป็นกระบวนการหนึ่งที่มีส่วนในการขับเคลื่อนสังคมไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน เนื่องจากฐานคิดของการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มาจากแนวความคิดของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ซึ่งได้มีพัฒนาการไปเป็นการท่องเที่ยวทางเลือกในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวโดยชุมชน เป็นต้น จนนำไปสู่การจัดการท่องเที่ยวทางเลือกที่มีรูปแบบเฉพาะมากขึ้นในปัจจุบัน เช่น ชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เมื่อนำการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ SDGs จะพบว่าชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มีส่วนในการขับเคลื่อนสังคมไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน จำนวน 11 เป้าหมาย จากทั้งหมด 17 เป้าหมาย ดังนี้ เป้าหมาย SDGs…

Continue Readingการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)

แนวคิดองค์กรสุขภาวะ (Healthy organization)

 เป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงานและผลการปฏิบัติงานที่ดีแนวคิดองค์กรสุขภาวะจึงให้ความสำคัญกับผลการปฏิบัติงานควบคู่ไปกับความสุขในการทำงานด้วย โดยใช้กระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของพนักงานในองค์กรที่มีเป้าหมายและยุทธศาสตร์สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ขององค์กร สถาบันคุณภาพแห่งชาติ ประเทศแคนาดา (National Quality Institute of Canada) กำหนดปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดองค์กรสุขภาวะไว้ 3 มิติ ได้แก่ อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน (Occupational health and safety) สุขภาวะบุคคล (Personal health practices) และวัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture of the workplace) โดยปัจจัยทั้ง 3…

Continue Readingแนวคิดองค์กรสุขภาวะ (Healthy organization)