ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย กรณีการจ่ายค่าเบี้ยประชุม

เงินได้พึงประเมินหมายถึงเงินได้อันเข้าลักษณะพึงต้องเสียภาษี ทั้งนี้ตามมาตรา 40 แห่งประมวลรัษฎากร กำหนดเงินได้พึงประเมินไว้ 8 ประเภท อย่างไรก็ดี มีการกำหนดเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้น เช่น ตามมาตรา 42 (7) กำหนดเบี้ยประชุมกรรมาธิการหรือกรรมการหรือค่าสอน ค่าสอบที่ทางราชการหรือสถานศึกษาของทางราชการจ่ายให้เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้น ไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ ในทางปฏิบัติ มีประเด็นที่ขอหารือดังนี้ หน่วยงาน A ขอหารือเกี่ยวกับการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย สำหรับค่าเบี้ยประชุมที่จ่ายให้แก่กรรมการ อนุกรรมการ หรือผู้ทำงาน ตามระเบียบคณะกรรมการ ว่าต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายไว้หรือไม่…

Continue Readingภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย กรณีการจ่ายค่าเบี้ยประชุม

การกำกับดูแลกิจการ (ตอนที่ 5)

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

ตอนนี้เราเดินทางมาถึง Blog ความรู้สุดท้ายใน Series เกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการ โดยตอนสุดท้ายนี้จะได้อธิบายโครงสร้างของการกำกับดูแลกิจการ องค์ประกอบของหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีสำหรับบริษัทจดทะเบียนปี พ.ศ. 2560 หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีสำหรับบริษัทจดทะเบียนปี พ.ศ. 2560 เพื่อเป็นหลักให้คณะกรรมการบริษัทนำไปใช้เป็นแนวทางในการกำกับดูแลกิจการ บนหลักการ Apply or Explain โดยบริษัทจดทะเบียนต้องเปิดเผยผลของการนำหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีไปปรับใช้ตามบริบทของธุรกิจ (Apply) หรืออธิบายเหตุผลของการที่บริษัทไม่สามารถนำหลักการไปปรับใช้หรืออธิบายการมีมาตรการอื่นที่บริษัทนำมาใช้ทดแทน (Explain) ในรายงานประจำปีและแบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี (แบบ 56-1) ที่ต้องจัดส่งในปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป โดย CG…

Continue Readingการกำกับดูแลกิจการ (ตอนที่ 5)

การกำกับดูแลกิจการ (ตอนที่ 4)

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

พัฒนาการการกำกับดูแลกิจการในประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้รณรงค์และส่งเสริมให้บริษัทจดทะเบียนตระหนักถึงความสำคัญและประโยชน์ของการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยเสนอหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี จำนวน 15 ข้อ ในปี พ.ศ.2545 ให้แก่บริษัทจดทะเบียนเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติในขั้นเริ่มแรก ต่อมาในปี พ.ศ. 2549 ได้มีการปรับปรุงหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีสำหรับบริษัทจดทะเบียน โดยแบ่งออกเป็น 5 หมวด ได้แก่ 1) สิทธิของผู้ถือหุ้น 2) การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน 3) บทบาทของ            ผู้มีส่วนได้เสีย 4) การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส และ 5) ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โดยเทียบเคียงกับหลักการกำกับดูแลกิจการของ…

Continue Readingการกำกับดูแลกิจการ (ตอนที่ 4)