บทเรียนความสำเร็จของโรงเรียนผู้สูงอายุต้นแบบเทศบาลตำบลแสนสุข อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี

สภาพปัญหาที่ต้องการแก้ไข ปัจจุบันตำบลแสนสุขมีประชากรที่มีอายุตั้งแต่ ๖๐ ปีขึ้นไปมีจำนวน ๓,๘๖๗ คน  คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๗๔ ของจำนวนประชากรทั้งหมด (จำนวนประชากร ณ เดือน กันยายน ๒๕๖๕ : ๒๔,๕๗๔ คน ) ถือได้ว่าตำบลแสนสุข เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) ปัญหาที่ตามมาจากการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุทำให้สัดส่วนของคนชราต่ออัตราของประชากรเพิ่มมากขึ้นทุกปี การที่มีสัดส่วนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น บางครั้งอาจทำให้ผู้สูงอายุขาดความอบอุ่นหรืออาจถูกทอดทิ้งได้ เมื่อถึงวัยเกษียณอายุไม่ได้ทำงานทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกเหงา  ไม่เกิดความภาคภูมิใจเหมือนเป็นภาระกับลูกหลาน อาจรู้สึกน้อยใจ ซึมเศร้า รวมถึงปัญหาสุขภาพร่างกาย…

Continue Readingบทเรียนความสำเร็จของโรงเรียนผู้สูงอายุต้นแบบเทศบาลตำบลแสนสุข อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี

ความสัมพันธ์ระหว่างอาคารเขียว (Green Building) และ Well-Being

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

อาคารเขียว (Green Building) หรือบางครั้งอาจปรากฏเป็นอาคารในแนวทางการก่อสร้างแบบยั่งยืน คือ อาคารที่ออกแบบและก่อสร้างโดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม การประหยัดพลังงาน และคุณภาพชีวิตของผู้ใช้อาคาร โดยมีการพิจารณาเลือกใช้วัสดุและเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ช่วยลดมลพิษและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้เกิดสภาพแวดล้อมภายในอาคารที่มีคุณภาพดี มีอากาศบริสุทธิ์ แสงสว่างธรรมชาติ และพื้นที่สีเขียว สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของผู้อยู่อาศัย สำหรับ Well-Being คือ สภาพความเป็นอยู่ที่ดีทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม อาคารเขียวสามารถส่งเสริม Well-Being ของผู้อยู่อาศัยได้หลายประการ ดังนี้ สุขภาพกาย อาคารเขียวมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพกายของผู้อยู่อาศัย เช่น อากาศบริสุทธิ์ แสงสว่างธรรมชาติ และพื้นที่สีเขียว…

Continue Readingความสัมพันธ์ระหว่างอาคารเขียว (Green Building) และ Well-Being

แนวคิดเกี่ยวกับความแตกต่างของการให้เหตุผลแบบอุปนัย Induction/Inductive reasoning และ การให้เหตุผลแบบนิรนัย Deduction/Deductive reasoning

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

•การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Induction/Inductive reasoning) “วิธีการสรุปในการค้นคว้าความจริงจากการสังเกต หรือทดลองหลายๆครั้งจากกรณีย่อยๆต่างๆ แล้วนำมาประกอบและสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป เป็นการรวบรวมข้อมูลสำหรับประชากรส่วนย่อย เพื่อไปสรุปเป็นข้อสรุปของประชากรส่วนใหญ่” •การให้เหตุผลแบบนิรนัย (Deduction/Deductive reasoning) “เป็นการนำความรู้พื้นฐาน ความเชื่อ ข้อตกลง กฎ บทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อนและยอมรับเป็นจริง เพื่อหาเหตุและนำไปสู่ข้อสรุป” Reference จากเอกสารการบรรยายวิชาการเรื่อง การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis)การจัดทำโครงงานฯที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพA Project based-on Qualitative Data Analysis โดย ผศ.ดร.ณัฐศิษฏ์…

Continue Readingแนวคิดเกี่ยวกับความแตกต่างของการให้เหตุผลแบบอุปนัย Induction/Inductive reasoning และ การให้เหตุผลแบบนิรนัย Deduction/Deductive reasoning