วิสาหกิจชุมชน แปลงใหญ่กาแฟบ้านป๊อก ตำบลห้วยแก้ว อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ ต้นแบบแก้จนด้วยกาแฟไทย ใจรักษ์ป่า

สรุปรายละเอียดของผลงาน สภาพปัญหาที่ต้องการแก้ไข “บ้านป๊อก” หมู่ 1 ตำบลห้วยแก้ว อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ อยู่บนพื้นที่สูง มีป่าต้นน้ำอันอุดมสมบูรณ์ อยู่ห่างไกลจากตัวเมือง การคมนาคมค่อนข้างลำบาก มีการทำการเกษตรแบบเชิงเดี่ยว โดยทำสวนเมี่ยง (ชาอัสสัม) ต่อมาในปี พ.ศ. 2524 ในหลวงรัชกาลที่ 9 ได้เสด็จมาในพื้นที่ตำบลห้วยแก้ว และได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับก่อสร้างศูนย์พัฒนาโครงการหลวงตีนตก เป็นศูนย์สาธิตและส่งเสริมการปลูกกาแฟอาราบิก้า เพื่อสร้างอาชีพและรายได้นอกจากการปลูกเมี่ยงให้แก่ราษฎรในพื้นที่ นับเป็นจุดเริ่มต้น “กาแฟของพ่อ ที่ปลูกในป่าของแม่” บ้านป๊อก ได้ทำการปลูกกาแฟผสมผสานไปกับการทำสวนเมี่ยงมากกว่า 30…

Continue Readingวิสาหกิจชุมชน แปลงใหญ่กาแฟบ้านป๊อก ตำบลห้วยแก้ว อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ ต้นแบบแก้จนด้วยกาแฟไทย ใจรักษ์ป่า

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรธรรมชาติปลอดภัยบ้านแม่ปาน – สันเกี๋ยง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่ต้นแบบการพัฒนาสูตรสำเร็จแก้จน ต้นแบบชุมชนยั่งยืน

สรุปรายละเอียดของผลงาน สภาพปัญหาที่ต้องการแก้ไข เดิมในพื้นที่บ้านแม่ปาน-สันเกี๋ยง ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ประสบปัญหาการบุกรุกทำลายป่า ปัญหาการขาดแคลนน้ำใช้ในพื้นที่สูง ปัญหาการปลูกพืชเชิงเดี่ยว (ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) ปัญหาการใช้สารเคมีจำนวนมากในการเกษตร ปัญหาไฟป่า และหมอกควันที่เกิดขึ้นในพื้นที่  โดยในปี พ.ศ. 2553 สำนักงานเกษตรอำเภอแม่แจ่ม ร่วมกับสำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ กรมส่งเสริมการเกษตรได้เข้ามาส่งเสริมการรวมกลุ่มของเกษตรกร ให้จัดตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชนเกษตรธรรมชาติปลอดภัยบ้านแม่ปาน – สันเกี๋ยง และบูรณาการกับหน่วยงานทั้งในและนอกพื้นที่อำเภอแม่แจ่มกระบวนการดำเนินงาน สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ โดยสำนักงานเกษตรอำเภอแม่แจ่ม อาศัยกลไกการทำงาน ตาม พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548…

Continue Readingกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรธรรมชาติปลอดภัยบ้านแม่ปาน – สันเกี๋ยง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่ต้นแบบการพัฒนาสูตรสำเร็จแก้จน ต้นแบบชุมชนยั่งยืน

เรียนรู้อย่างรวดเร็วในความสำคัญของการจัดการงานสนาม ผ่าน Mind Map

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

Nattasit Chaisaard, Ph.D. การบริหารจัดการการก่อสร้าง โดยเฉพาะการจัดการงานสนาม (Fieldwork in Construction Management) มีความเชื่อมโยงกันในทุกด้าน ทุกมิติ โดยความสำเร็จขึ้นอยู่กับการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพระหว่างฝ่ายต่างๆ ประกอบด้วย ทีมงานบริหารโครงการ ผู้ชำนาญการ อย่างวิศวกรและช่างแขนงต่างๆ ทั้งงานระบบไฟฟ้า ประปา ช่างก่อฉาบ งานผนัง Facade งาน HVAC เป็นต้น ตลอดจนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ ในแต่ละขั้นตอนและกิจกรรมที่จะดำเนินการส่งมอบงานโครงการในแต่ละเฟส ซึ่งในรายละเอียดต่างๆเหล่านี้ส่งผลต่อภาพรวมสำหรับผลลัพธ์ของโครงการทั้งหมด ซึ่งต้องการการวางแผน การจัดสรรทรัพยากร…

Continue Readingเรียนรู้อย่างรวดเร็วในความสำคัญของการจัดการงานสนาม ผ่าน Mind Map