Strategic Management Approach for Result

Strategic Management Approach for Result: แนวทางการบริหารเชิงยุทธศาสตร์เพื่อสัมฤทธิผล องค์การต้องกำหนดจุดยืนขององค์การให้ชัดเจนเพื่อวางยุทธศาสตร์ให้เหมาะสม ซึ่งการบริหารเชิงยุทธศาสตร์เป็นกระบวนการในการบริหารเพื่อให้บรรลุภารกิจขององค์การโดยอยู่บนแนวคิดที่ว่า องค์การไม่ได้อยู่เป็นเอกเทศโดยตัวเองที่มีเพียงจุดอ่อนและจุดแข็งเป็นมิติหลักในการพิจารณาเท่านั้น แต่อยู่ภายใต้มิติของบริบทหรือสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาอีกด้วย ซึ่งสภาพแวดล้อมที่มากระทบกับองค์การนั้น บางครั้งก็เป็นโอกาส บางครั้งก็เป็นภัยคุกคาม ทั้งนี้ การบริหารเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Management) ขององค์การนั้นจะประกอบไปด้วย 3 ขั้นตอนสำคัญ ดังนี้              (1) การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (Strategy Formulation) เป็นเรื่องของการกำหนดวิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย…

Continue ReadingStrategic Management Approach for Result

Key Question Issue of Strategic Planning

Key Question Issue of Strategic Planning: ประเด็นคำถามหลักในการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ในการวางยุทธศาสตร์นั้น จะต้องมีการกำหนดคำแถลงภารกิจขององค์การ ซึ่งคือ การให้คำนิยาม หรือการอธิบายถึงขอบข่ายการดำเนินงานหรือลักษณะของการดำเนินงานขององค์การ เช่น องค์การของเราจะให้บริการอะไร  มีใครเป็นกลุ่มเป้าหมายที่จะมารับบริการจากเรา  จุดมุ่งหมายของการดำเนินงานและภาพลักษณ์ที่ต้องการจะเป็นคืออะไร  รวมไปถึงปรัชญาการบริหารงานหรือค่านิยมขององค์การที่ยึดมั่น (Core Value) และเมื่อกำหนดภารกิจไว้ชัดเจนแล้ว ควรมีการตั้งคำถามหลักในการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ และกำหนดสิ่งที่ต้องดำเนินการต่างๆ ดังนี้ 1. เราจะไปในทิศทางไหน (Where are you going?) สิ่งที่ต้องดำเนินการคือ…

Continue ReadingKey Question Issue of Strategic Planning

Public Policy as Value Distribution

นโยบายสาธารณะในฐานะอำนาจในการจัดสรรค่านิยมของสังคม             นโยบายสาธารณะในฐานะอำนาจในการจัดสรรค่านิยมของสังคม สอดคล้องกับทัศนะของ David Easton กล่าวคือ นโยบายสาธารณะเป็นอำนาจในการจัดสรรค่านิยมของสังคมทั้งมวลและผู้ที่มีอำนาจในการจัดสรรก็คือรัฐบาล และสิ่งที่รัฐบาลตัดสินใจที่จะกระทำหรือไม่กระทำเป็นผลมาจากการจัดสรรค่านิยมของสังคม ซึ่งบุคคลที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของระบบการเมือง (Political System) เป็นบุคคลที่มีอำนาจสั่งการ (Authorities) ได้แก่ ผู้อาวุโสทางการเมือง ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายตุลาการ นักบริหาร ที่ปรึกษา และผู้นำทางการเมืองอื่นๆ ซึ่งเป็นบุคคลที่เป็นที่รู้จักและระบบการเมืองให้การยอมรับในฐานะเป็นผู้มีอำนาจโดยชอบด้วยกฎหมาย                                 นโยบายสาธารณะในทัศนะนี้ สามารถจำแนกองค์ประกอบสำคัญได้แก่ (1) นโยบายสาธารณะเป็นสิ่งที่รัฐบาลตัดสินใจที่จะกระทำ (2) การตัดสินใจที่จะกระทำของรัฐบาลเป็นผลมาจากการจัดสรรค่านิยมของสังคม…

Continue ReadingPublic Policy as Value Distribution