Predictive analytics

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

Predictive analytics เป็นการวิเคราะห์เพื่อตอบคำถามที่ว่า What is likely to happen อะไรจะเกิดขึ้นในอนาคต เป็นการพยากรณ์ไปข้างหน้า (Foresight) การวิเคราะห์เพื่อการพยากรณ์มีหลายแบบ เช่น การวิเคราะห์การถดถอย (Regression) โดยนำข้อมูลที่เกิดขึ้นแล้วมาวิเคราะห์ตามแบบจำลองทางสถิติเพื่อพยากรณ์สิ่งที่สนใจ เช่น การประมาณการหรือพยากรณ์ต้นทุนการผลิตในอนาคต เป็นต้น   การใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ในการพยากรณ์ เช่น การพยากรณ์ยอดขาย การพยากรณ์ผลประชามติ เป็นต้น การแบ่งประเภท (Classification) เพื่อพยากรณ์จากการจัดข้อมูลที่คล้ายคลึงกันไว้ด้วยกัน เช่น พยากรณ์หนี้สูญจากกลุ่มลูกหนี้ที่ค้างชำระเป็นเวลานานเกิน…

Continue ReadingPredictive analytics

การวิเคราะห์เชิงวินิจฉัย (Diagnostic analytics)

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

การวิเคราะห์เชิงวินิจฉัย เป็นการวิเคราะห์เพื่อช่วยผู้บริหารวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้น โดยหาสาเหตุของปัญหาหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อตอบคำถามที่ว่า “Why it happened ทำไมจึงเกิดขึ้น หรือทำไมจึงเป็นเช่นนั้น” ทำให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ (insight) ถึงเหตุผล หรือปัจจัยต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อธุรกิจ การวิเคราะห์เชิงวินิจฉัยสามารถทำได้ดังนี้ การใช้เทคนิคเชิงคณิตศาสตร์และเชิงสถิติ ในการทำ Profiling เช่น สำรวจหารายการค้าที่ผิดปกติ หรือเปรียบเทียบข้อมูลที่สนใจกับค่าเฉลี่ยหรือค่ามาตรฐาน เป็นต้น การวิเคราะห์เชิงวินิจฉัยในลักษณะการจัดกลุ่ม (Clustering) ข้อมูล เช่น การจัดกลุ่มลูกหนี้แยกตามอายุหนี้ จะทำให้ทราบว่ากลุ่มลูกหนี้ที่เป็นปัญหาค้างชำระนาน เป็นต้น การใช้วิธีการจับคู่ความคล้ายคลึงกัน…

Continue Readingการวิเคราะห์เชิงวินิจฉัย (Diagnostic analytics)

ดาต้า อนาไลติกส์: การวิเคราะห์เชิงพรรณนา

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

การวิเคราะห์เชิงพรรณนา (Descriptive analytics)เป็นการวิเคราะห์ที่ใช้กันมากที่สุด เป็นแบบ พื้นฐานที่ง่ายที่สุด มักนำมาใช้กับรายการธุรกิจ เหตุการณ์หรือกิจกรรมทางธุรกิจที่เกิดขึ้นแล้ว เพื่อตอบคำถามที่ว่า What happened ? “ที่ผ่านมาอะไรเกิดขึ้น” โดยมักนำเสนอเพื่อสรุปภาพรวม (Summary) ซึ่งสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นสถิติเชิงพรรณนาเพื่ออธิบายลักษณะของชุดข้อมูล เช่น ค่าเฉลี่ย ค่ากลาง ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด จำนวนนับหรือค่าความถี่ ร้อยละของยอดรวม เป็นต้น นอกจากใช้เพื่ออธิบายลักษณะของชุดข้อมูลแล้ว ยังนำมาใช้เพื่อลดจำนวนข้อมูล (Data reduction or Filtering)  จากข้อมูลที่มีจำนวนมากมาย…

Continue Readingดาต้า อนาไลติกส์: การวิเคราะห์เชิงพรรณนา