การนำหุ้นออกจากตลาดหลักทรัพย์… มีขั้นตอนอย่างไร (2)

รองศาสตราจารย์ ดร.กัลยานี ภาคอัต          จากบทความที่แล้ว (1) ได้นำเสนอเนื้อสาระการนำหุ้นออกจากตลาดหลักทรัพย์  ซึ่งในกรณีนั้นเป็นการนำหุ้นออกจากตลาดด้วยความสมัครใจ หรือการเพิกถอนหุ้นโดยสมัครใจ  สำหรับเนื้อหาสาระในบทความนี้จะนำเสนอการเพิกถอนหุ้นที่ไม่ได้เกิดจากความสมัครใจ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่าเป็นการถูกบังคับให้ออกจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ หรือภาษาทางการ “การเพิกถอนหุ้นจากการพิจารณาของตลาดหลักทรัพย์”           กรณีที่หุ้นถูกพิจารณาให้เพิกถอนออกจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ  โดยมีประกาศหลักเกณฑ์ฯ ในเรื่องดังกล่าว  เมื่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้พิจารณาแล้วเห็นว่า หลักทรัพย์มีลักษณะไม่เหมาะสมที่จะดำรงสถานะการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์  เป็นเหตุให้หุ้นเข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (ข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง การเพิกถอนหลักทรัพย์จดทะเบียน พ.ศ. 2564)…

Continue Readingการนำหุ้นออกจากตลาดหลักทรัพย์… มีขั้นตอนอย่างไร (2)

การนำหุ้นออกจากตลาดหลักทรัพย์… มีขั้นตอนอย่างไร (1)

รองศาสตราจารย์ ดร.กัลยานี ภาคอัต         การนำหุ้นเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เป็นที่รู้จักกันอย่างดี  โดยเฉพาะช่วงเวลาที่มีข่าวการนำเสนอขายหุ้นใหม่หรือไอพีโอ ซึ่งนักลงทุนทราบดีว่าจะมีขั้นตอนในการลงทุนอย่างไร  แต่ในทางตรงกันข้าม มีข่าวไม่มากนักเกี่ยวกับการนำหุ้นออกจากตลาดหลักทรัพย์  ดังนั้น เนื้อหาสาระจะนำเสนอจึงเป็นเรื่องราวของการนำหุ้นออกจากตลาดหลักทรัพย์  ในทางปฏิบัติการนำหุ้นออกจากตลาดหลักทรัพย์นั้น ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้กำหนดหลักเกณฑ์การนำหลักทรัพย์ออกจากการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดไว้แล้วซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 รูปแบบคือ 1) การเพิกถอนหุ้นโดยสมัครใจ และ 2) การเพิกถอนหุ้นจากการพิจารณาของตลาดหลักทรัพย์                   สำหรับเนื้อสาระในบทความนี้จะนำเสนอถึงการเพิกถอนหุ้นโดยสมัครใจ ว่ามีขั้นตอนอย่างไร  โดยขั้นตอนจะเริ่มจากการที่คณะกรรมบริษัทได้มีมติการนำหุ้นออกจากตลาด และนำมติแจ้งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย…

Continue Readingการนำหุ้นออกจากตลาดหลักทรัพย์… มีขั้นตอนอย่างไร (1)

ชุดทักษะปัญญาประดิษฐ์

ชุดทักษะปัญญาประดิษฐ์ (Generative Pre-trained Transformer - GPT) เป็นโมเดลปัญญาประดิษฐ์ที่ได้รับความนิยมอย่างมากในเชิงนวัตกรรมสมัยใหม่ โดยโมเดลนี้ถูกฝึกสอนจากข้อมูลขนาดใหญ่บนเว็บและข้อความทั่วไป โดยมีความสามารถในการสร้างข้อความที่มีความสมเหตุสมประสงค์ที่มีความเข้าใจและเป็นธรรมชาติมากขึ้นเนื่องจากGPT (Generative Pre-trained Transformer) ปัญญาประดิษฐ์ที่ถูกฝึกสอนด้วยการเรียนรู้จากข้อมูลขนาดใหญ่บนเว็บและข้อความทั่วไป โมเดลในตระกูล GPT มีความสามารถในการสร้างข้อความที่มีความสมเหตุสมผลโดยอิงจากข้อมูลที่ได้เรียนรู้มาก่อนหน้านี้ การใช้งาน GPT หมายถึงการนำโมเดล GPT มาสร้างแอปพลิเคชันหรือบริการที่มีความสามารถในการสร้างบทสนทนาหรือการสนทนาโต้ตอบเชิงธรรมชาติกับผู้ใช้งาน โดยบอทที่ถูกสร้างขึ้นด้วย GPT จะสามารถตอบคำถาม พูดคุย หรือให้ข้อมูลต่าง ๆ ตามคำถามและความต้องการของผู้ใช้งาน โดยใช้ข้อมูลที่โมเดลได้เรียนรู้มาก่อนหน้านี้ ตัวอย่างการใช้งาน…

Continue Readingชุดทักษะปัญญาประดิษฐ์