JD-R model

JD-R model แบ่งปัจจัยในสภาพแวดล้อมการทำงานออกเป็นสองกลุ่มได้แก่ ภาระงาน (Job Demands) และ ทรัพยากรที่มีให้ใช้ในการทํางาน (Job Resources) โดยทรัพยากรที่มีให้ใช้ในการทำงานเป็นปัจจัยเชิงบวกที่มีผลต่อความผูกพันขององค์กร ทั้งนี้ทรัพยากรอาจมาจากโครงสร้างองค์กร ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความสัมพันธ์ทางสังคม และ มาจากโครงสรร้างงาน เช่นความชัดเจนของบทบาทและการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ เป็นต้น ในขณะที่ภาระงานเป็นปัจจัยเชิงลบ กล่าวคือในการทำงานให้สำเร็จลุล่วงจะต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้าง ทั้งนี้ระดับความผูกพันของบุคลากรในองค์กรจะลดลงเมื่อภาระงานมีมากกว่าทรัพยากรที่องค์กรนั้นๆมี ต่อมา JD-R model ได้ขยายไปครอบคลุมคุณสมบัติส่วนตัวของ บุคคล (personal resource) ซึ่งแตกต่างกันไปในแต่ละคน เช่น ศักยภาพของตนเอง…

Continue ReadingJD-R model

การพัฒนาแนวทางการส่งเสริมการปฏิบัติงานที่ดีของคณะกรรมการหมู่บ้าน

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

ในส่วนนี้ผู้เขียนได้นำผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการศึกษาในหัวข้อวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกเรื่อง “The Village Committee and Public Service Promotion” (Akahat, 2019: 344 - 249) เพื่อแสดงให้เห็นผลการวิเคราะห์กลยุทธ์สำหรับใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติงานที่ดีของคณะกรรมการหมู่บ้านด้วยการวิเคราะห์แบบจับคู่ความสัมพันธ์แบบ SWOT Matrix (SWOT Matrix Analysis) เพื่อให้ได้กลยุทธ์ที่เป็นแนวทางการส่งเสริม การปฏิบัติงานที่ดีของคณะกรรมการหมู่บ้านในภารกิจ 1) ด้านการอำนวยการ 2) ด้านการปกครองและการรักษาความสงบเรียบร้อย 3) ด้านแผนพัฒนาหมู่บ้าน  4) ด้านการส่งเสริมเศรษฐกิจ 5)…

Continue Readingการพัฒนาแนวทางการส่งเสริมการปฏิบัติงานที่ดีของคณะกรรมการหมู่บ้าน

คณะกรรมการหมู่บ้าน

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

พัฒนาการ “คณะกรรมการหมู่บ้าน” กำเนิดขึ้นตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 แก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 1 พ.ศ. 2486 ในมาตรา 28 ตรี โดยกำหนดให้มีการจัดตั้ง “คณะกรรมการหมู่บ้าน” โดยเดิมกำหนดให้ผู้ใหญ่บ้านและผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านรวมกันมีฐานะเป็น “คณะกรรมการหมู่บ้าน” มีหน้าที่เสนอข้อแนะนำและให้คำปรึกษาหารือในการปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่ของผู้ใหญ่บ้าน โดยมีผู้ใหญ่บ้านเป็นประธาน และยังกำหนดว่าการประชุมคณะกรรมการหมู่บ้านต้องมีผู้มาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งจึงจะเป็นองค์ประชุม และการชี้ขาดข้อปรึกษาของคณะกรรมการหมู่บ้านให้ถือเสียงข้างมากเป็นหลัก ซึ่งนับเป็นจุดเริ่มต้นของ “คณะกรรมการหมู่บ้าน” ที่ได้มีส่วนในการบริหารหมู่บ้านอย่างบูรณาการมากขึ้นในช่วงหลังจากประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยมากขึ้น (ปธาน สุวรรณมงคล, 2560: 159)  ต่อมาในปี พ.ศ. 2524…

Continue Readingคณะกรรมการหมู่บ้าน