การกำหนดวัตถุประสงค์ และขอบเขตของโครงงาน

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

1. การกำหนดวัตถุประสงค์ การจัดทำโครงการต้องมีกำหนดหรือระบุวัตถุประสงค์ของโครงงานเพื่อให้ผู้อ่านโครงงานทราบถึงเจตรมณ์ของผู้จัดทำโครงงานว่าต้องการจะทำอะไร อย่างไร และด้วยวิธีการใด ซึ่งการกำหนดการกำหนดวัตถุประสงค์ คือ การให้แนวทางหรือทิศทางในการค้นหาคำตอบในหัวข้อโครงงานผู้จัดทำโครงงานต้องการที่จัดทำนั้นเอง ทั้งนี้ผู้จัดทำโครงงานควรแยกวัสตถุประสงค์หลักและวัตถุประสงค์รองอย่างชัดเจน ซึ่งโครงงานที่ดีนั้นควรมีวัตถุประสงค์หลักและวัตถุประสงค์รองรวมกันแล้วประมาณ 3 - 4 ข้อ โดยเขียนเรียงตามลำดับวัตถุประสงค์หลักตามด้วยวัตถุประสงค์รอง แนวทางในการกำหนดวัตถุประสงค์โครงงาน           กำหนดวัตถุประสงค์โครงงานในการจัดทำโครงการที่ชัดเจนสามรถทำให้ผู้อ่านโครงงานมีความเข้าใจได้ว่าโครงงานที่ผู้จัดทำครงขึ้นมานั้นคาดหวังผลลัพธ์อะไร และจะได้อะไรจากโครงงานนี้ ดังนั้นผู้จัดโครงงานต้องทำการกำหนดวัสดุประสงค์ที่ชัดเจนขึ้นมาให้ได้ ซึ่งทางในการแนวทางในการกำหนดวัตถุประสงค์โครงงานสามารถสรุปได้ 4 ขั้นตอน ดังแสดงในภาพที่ 3.1 ภาพที่ 3.1 ขั้นตอนในการกำหนดวัตถุประสงค์โครงงาน จากดังแสดงในภาพที่ 3.1…

Continue Readingการกำหนดวัตถุประสงค์ และขอบเขตของโครงงาน

ประเภทของตัวแปร

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

ประเภทของตัวแปร ตัวแปรสามารถแบ่งประเภทได้หลายแบบ ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ ในการแบ่งถ้าใช้เกณฑ์ต่างกัน ก็จะมีชื่อเรียกตัวแปรต่างกันไปด้วย ในด้านการบริหารงานก่อส่วนส่วใหญ่จะแบ่งงออกเป็น 2 ประเภท โดยพิจารณาความเป็นเหตุเป็นผลต่อกัน ซึ่งมักใช้กันบ่อยในโครงงานงานประเภททดลอง และโครงงานประเภทสำรวจ ดังนี้ ศิริชัย กาญจนวาสี และ ชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม, 2557. 1) ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) หรือบางครั้งเรียกว่า ตัวแปรต้น หมายถึง ตัวแปรที่เกิดขึ้นก่อน และถือว่าเป็นเหตุของตัวแปรอื่น ตัวแปรอิสระจึงเป็นตัวแปรตั้งต้น หรือตัวแปร เหตุ…

Continue Readingประเภทของตัวแปร

การทบทวนวรรณกรรม

1. ความหมายของการทบทวนวรรณกรรม ความหมายของการทบทวนวรรณกรรม (Literature review) นั้นมีนักวิชาการหลายท่านท่านได้ให้ความหมายของการทบทวนวรรณกรรมไว้ดังนี้            Webster & Watson, 2002 นักวิจัยรุ่นใหม่หรือบุคคลที่ขาดประสบการณ์ในการทำ วิจัยอาจมองว่าการทบทวนวรรณกรรมเป็นเพียงการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องเท่านั้น ในความเป็นจริง การทบทวนวรรณกรรมไม่ใช่การรวบรวมงานของนักวิจัยหรือนักวิชาการท่านอื่นมาไว้ในงานของตน และไม่ใช่การนำ เอางานวรรณกรรมทุกเรื่องในสาขานั้นที่ไม่เกี่ยวข้องกับหัวข้อหรือคำ ถามในการวิจัยมาใส่ไว้ในงานวิจัยของตน แต่การทบทวนวรรณกรรม คือ การจัดระบบหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยโดยผ่านการสังเคราะห์เพื่อนำ ไปสู่การพัฒนางานวิจัย ครั้งต่อไป The University of Sydney, 2010           Zikmund,Babin,…

Continue Readingการทบทวนวรรณกรรม