มารู้จักคำว่า  New Public Governance (NPG) ตามที่ Stephen P. Osborne (2010) นำเสนอกัน 

New Public Governance (NPG) หรือที่เรียกกันว่า การจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่ นั้น Stephen P. Osborne นักวิชาการชาวสก๊อตแลนด์ได้เสนอว่าเป็นกระบวนทัศน์ (Paradigm) ล่าสุดของรัฐประศาสนศาสตร์ โดย Osborne (2010) ได้ทำการจัดกลุ่มความหมายของคำว่า การจัดการปกครอง (Governance)  ออกเป็น 3 สำนักคิดเพื่อให้เข้าใจ New Public Governance (NPG) มากขึ้น ดังนี้ 1.การบริหารปกครองแบบบรรษัท (Corporate…

Continue Readingมารู้จักคำว่า  New Public Governance (NPG) ตามที่ Stephen P. Osborne (2010) นำเสนอกัน 

บทบาทตัวแสดงในภาคีเครือข่ายการบูรณาการแก้ไขปัญหาวิกฤติโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ระลอกแรก ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเวียง อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

บทบาทตัวแสดงในภาคีเครือข่ายการบูรณาการแก้ไขปัญหาวิกฤติโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเวียงได้มีภาคีเครือข่ายต่างๆ เข้ามีส่วนเกี่ยวข้องในการร่วมมือเพื่อให้ความช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในระลอกแรก (มีนาคม - สิงหาคม 2563 ) จากการดังนี้ (อ้างใน นพพล อัคฮาด, 2565) 1. หน่วยงานทางด้านสาธารณสุข ได้แก่ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเทิง โรงพยาบาลเทิง และโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองผู้ป่วยในพื้นที่ มีการแนะนำให้ผู้ที่สัมผัสกับผู้ป่วยได้กักตัวตามหลักการสาธารณสุข ซึ่งจากการให้ข้อมูลของสาธารณสุขอำเภอเทิงเกี่ยวกับการร่วมมือในการบริหารจัดการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในพื้นที่ อบต. เวียง ได้ข้อมูลที่น่าสนใจดังนี้…

Continue Readingบทบาทตัวแสดงในภาคีเครือข่ายการบูรณาการแก้ไขปัญหาวิกฤติโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ระลอกแรก ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเวียง อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย

สาระสำคัญของของกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

สาระสำคัญในบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ที่กำหนดขึ้น ได้แก่ 1) ปรับปรุงระบบตำแหน่งและประเภทตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญให้เหมาะสมกับลักษณะงานเพื่อจ่ายค่าตอบแทนที่เป็นธรรม 2) ให้มีกระบวนการสรรหาบุคคลในระบบเปิด เพื่อบรรจุเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ และเพื่อแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญให้ดำรงตำแหน่งในบางกรณี 3) กระจายอำนาจการบริหารทรัพยากรบุคคลให้ส่วนราชการเจ้าสังกัดดำเนินการมากขึ้น 4) ปรับปรุงระบบวินัย อุทธรณ์ และร้องทุกข์ ให้มีความเข้มแข็ง และ 5) มีการจัดตั้งคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) ซึ่งอธิบายแต่ละส่วนได้ดังนี้ (ธนวัฒน์ โลหะเวช, 2557: น. 11 – 15)…

Continue Readingสาระสำคัญของของกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551