กองทุนลดหย่อนภาษี: กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ

กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (Retirement Mutual Fund: RMF) เป็นกองทุนที่ลงทุนได้ในสินทรัพย์ทุกประเภท และมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีเงินออมระยะยาวไว้ใช้จ่ายในยามเกษียณอายุการทำงาน ทั้งนี้กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ หรือ RMF นั้นมีข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ที่สำคัญดังนี้1. ลงทุนได้ในสินทรัพย์ทุกประเภท2. ลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 30% ของเงินได้พึงประเมินที่ต้องเสียภาษี และเมื่อรวมกับการออมเพื่อการเกษียณอื่นๆ ได้แก่ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Provident Fund: PVD) กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) กองทุนสงเคราะห์ครูโรงเรียนเอกชน กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) กองทุนรวมเพื่อการออม (Super Savings Fund:…

Continue Readingกองทุนลดหย่อนภาษี: กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ

กองทุนลดหย่อนภาษี: กองทุนรวมหุ้นระยะยาว

กองทุนรวมหุ้นระยะยาว (Long Term Equity Fund: LTF) เป็นกองทุนที่เน้นการลงทุนในหุ้นไทย เหมาะกับบุคคลธรรมดาที่มีเงินได้พึงประเมินที่ต้องเสียภาษี และพร้อมที่จะถือครองกองทุนดังกล่าวนี้ในระยะยาว การลงทุนในกองทุนรวมหุ้นระยะยาว หรือ LTF นั้นมีข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ต่างๆที่สำคัญดังนี้1. นโยบายการลงทุนคือเป็นการลงทุนในหุ้นไทยไม่น้อยกว่า 65% ของมูลค่าทรัพย์สินของกองทุน2. สามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 15% ของเงินได้พึงประเมินที่ต้องเสียภาษีในปีภาษีนั้น แต่ไม่เกิน 500,000 บาท3. ไม่จำเป็นต้องลงทุนต่อเนื่องกันทุกปี นั่นคือลงทุนในปีไหนก็นำไปลดหย่อนภาษีในปีนั้น4. ระยะเวลาการถือครองไม่น้อยกว่า 7 ปีปฏิทิน เช่น ซื้อกองทุนปี 2560…

Continue Readingกองทุนลดหย่อนภาษี: กองทุนรวมหุ้นระยะยาว

ปรัชญาแห่งศาสตร์ (ตอนที่ 5) : การวิจัยเชิงคุณภาพ

การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีปรัชญาที่อยู่เบื้องหลังการวิจัย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่1. ภววิทยา (Ontology) การวิจัยเชิงคุณภาพมีฐานคติ (Assumption) ว่า ความรู้ความจริงเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น นักวิจัยสร้างความรู้ความจริงและสร้างความหมายให้กับสิ่งต่างๆจากการมีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) กับผู้ถูกวิจัยในบริบทหรือปรากฏการณ์ต่างๆ ดังนั้นนักวิจัยจึงใช้วิจารณญาณส่วนบุคคลในการตัดสินใจเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล2. ญาณวิทยา (Epistemology) การแสวงหาและการเข้าถึงความรู้ความจริงนั้น นักวิจัยจะต้องเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในโลกของผู้ถูกวิจัย (Conceptual World) มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด และสนิทสนมกัน จนเกิดความไว้เนื้อเชื่อใจ ซึ่งจะทำให้ผู้วิจัยตีความหมาย (Interpretation) ข้อมูลและมโนทัศน์ต่างๆได้ตามบริบทหรือปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในโลกแห่งความเป็นจริงได้3. วิธีวิทยา…

Continue Readingปรัชญาแห่งศาสตร์ (ตอนที่ 5) : การวิจัยเชิงคุณภาพ