การทบทวนวรรณกรรม

1. ความหมายของการทบทวนวรรณกรรม ความหมายของการทบทวนวรรณกรรม (Literature review) นั้นมีนักวิชาการหลายท่านท่านได้ให้ความหมายของการทบทวนวรรณกรรมไว้ดังนี้            Webster & Watson, 2002 นักวิจัยรุ่นใหม่หรือบุคคลที่ขาดประสบการณ์ในการทำ วิจัยอาจมองว่าการทบทวนวรรณกรรมเป็นเพียงการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องเท่านั้น ในความเป็นจริง การทบทวนวรรณกรรมไม่ใช่การรวบรวมงานของนักวิจัยหรือนักวิชาการท่านอื่นมาไว้ในงานของตน และไม่ใช่การนำ เอางานวรรณกรรมทุกเรื่องในสาขานั้นที่ไม่เกี่ยวข้องกับหัวข้อหรือคำ ถามในการวิจัยมาใส่ไว้ในงานวิจัยของตน แต่การทบทวนวรรณกรรม คือ การจัดระบบหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยโดยผ่านการสังเคราะห์เพื่อนำ ไปสู่การพัฒนางานวิจัย ครั้งต่อไป The University of Sydney, 2010           Zikmund,Babin,…

Continue Readingการทบทวนวรรณกรรม

แนวทางการเขียนที่มา และความสำคัญของปัญหา

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

แนวทางการเขียนที่มา และความสำคัญของปัญหา แนวทางการเขียนที่มา และความสำคัญของปัญหาในเบื้องต้น สามารถแบ่งออกเป็น 3 ส่วนด้วยกันดังนี้ 1. ย่อหน้าแรก ควรมีการอภิปรายถึง ที่มาของปัญหาที่เกิดขึ้นทั่วๆ ไป ข้อดี ข้อเสียของปัญหา หรือ ข้อโต้แย้งที่ได้จากโครงงานของผู้จัดทำโครงงานท่านอื่น ซึ่งที่ได้ทำโครงงานมาแล้ก่อนหน้า 2. ย่อหน้าสอง ควรมีการอภิปรายถึง ความสำคัญหรือความรุนแรงของปัญหาที่เกิดขึ้น และแนวทางของการแก้ไขปัญหา(ถ้ามีผู้จัดทำโครงงานท่านทำไว้แล้ว)ในหัวข้อที่หรือเรื่องที่สนใจโดยในย่อที่สองนี้ควรมีการอ้างอิงเอกสารที่เกี่ยวข้องมาประกอบด้วยเพื่อให้มีความน่าเชื่อและสนับสนุนในหัวข้อหรือประเด็นที่ผู้จัดทำโครงงานสนใจศึกษายิ่งขึ้น 3. ย่อหน้าสุดท้าย ควรมีการอภิปรายถึง ข้อสรุปและจุดมุ่งหมายหรือมีการให้เหตุผลที่ชัดเจน เพื่อที่จะแก้ไขปัญหาในหัวข้อหรือประเด็นที่ผู้จัดทำโครงงานสนใจศึกษา โดยมีการลงท้ายในรูปแบบการเขียนว่า ผู้จัดทำโครงงานจะทำอะไร เพื่ออะไร…

Continue Readingแนวทางการเขียนที่มา และความสำคัญของปัญหา

แนวทางการคัดเลือกหัวข้อโครงงานด้านการจัดการงานก่อสร้าง

ในการกำหนดประเด็นปัญหาการทำโครงงานสำหรับผู้ที่เริ่มต้นนั้น ในเบื้องต้นควรแบ่ง ออกเป็น 2 ด้านคือ มุมมองทางด้านเทคนิค (technical aspect) และมุมมองทางด้านการจัดการ (management aspect) ในการเลือกหัวข้อเพื่อการจัดทำโครงงานด้านการจัดการงานก่อสร้างนั้น อาจจะเลือกจากหัวข้อย่อยหรือในเนื้อหาสาระของของปัญหาที่หน้างานจริงหรือการอ่ายงานวิจัย หรือจากหนังสือด้านการจัดการงานก่อสร้าง ต่ควรเลือกเฉพาะหัวข้อมาก่อน หรือหัวข้ออื่นๆ ที่สนใจ และมีความถนัดอยู่แล้วก็ได้ แล้วจะนำหัวข้อที่สนใจหรือประเด็นย่อยที่สนนั้น ทำการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องก่อนเพื่อค้นหาหัวข้อโครงงานที่ยังไม่มีผู้จัดทำโครงงานท่านอื่นหาคำตอบหรือแก้ไขปัญหานั้นได้ จากนั้นจึงนำหัวข้อโครงงานที่เลือกไว้แล้วทำการตั้งชื่อโครงงาน สุดท้ายจะเป็นการนำเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อตรวจสอบความถูกต้องและวางแผนการจัดทำโครงงานร่วมกันต่อไป แสดงดังภาพที่ 3.2  กรณีอ่านหนังสือเพื่อทางการคัดเลือกหัวข้อโครงงานด้านการจัดการงานก่อสร้าง ภาพที่ 3.2 แสดงความสัมพันธ์ของขั้นตอนและกระบวนการคัดเลือกหัวข้อโครงงาน (กรณีอ่านหนังสือ) จากภาพที่…

Continue Readingแนวทางการคัดเลือกหัวข้อโครงงานด้านการจัดการงานก่อสร้าง