Teaching to be a Genius like Davinci ตอน4 : 15 ลักษณะการเรียนการสอนที่ดีของโลกยุค 21 Century

ลักษณะสำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21- 5 ประการ 1.เป็นโลกในยุคดิจิทัล 4.0 มีความก้าวหน้าของเทคโนโลยี และมี AI หรือ ปัญญาประดิษฐ์เข้ามาเกี่ยวข้องในชีวิตประจำวันมากขึ้น (และคาดว่าจะมากขึ้นอีกในอนาคตอันใกล้) ตัวอย่าง เราซื้อของผ่านออนไลน์ เรา chat Line Facebook เราโทรหา call center ปัจจุบันล้วนเป็น AI มาช่วยทั้งสิ้น 2.กระแสโลกาภิวัตน์ (Globalization) ยังคงเป็นแรงขับเคลื่อนให้เกิดการเคลื่อนไหลของทุน สินค้าการบริการ และผู้คนอย่างเสรี จนกลายเป็นโลกที่เชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย…

Continue ReadingTeaching to be a Genius like Davinci ตอน4 : 15 ลักษณะการเรียนการสอนที่ดีของโลกยุค 21 Century

Teaching to be a Genius like Davinci ตอน3 : หลักในการคิดและการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ 7 ประการของดาวินชี (Davinci)

ตามที่ Michael Gelb ได้รวบรวมข้อมูลจากบันทึกของลีโอนาโด ดาวินชี ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในอัจริยะบุคคลของโลก และจากแหล่งต่างๆ โดย เขาได้ตั้งชื่อแนวทางต่างๆ เป็นภาษาอิตาเลียน เพื่อเป็นเกียรติแก่ดาวินชี และเรียกแนวทางทั้งเจ็ดว่า Seven Da Vincian Principles ได้แก่ 1-Curiosita - ความสนใจใคร่รู้  ถ้าเป็นภาษาอังกฤษก็คือ Curious   ตามแนวทางของดาวินชีเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ และเป็นธรรมชาติที่อยู่คู่มนุษย์   มนุษย์ทุกคนมีความอยากรู้อยากเห็น อยู่กับตัวทุกคน เพียงแต่เราจะนำมันมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างไร ถ้าใช้ในทาง ที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ก็จะเป็นการ "สอดรู้สอดเห็น"…

Continue ReadingTeaching to be a Genius like Davinci ตอน3 : หลักในการคิดและการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ 7 ประการของดาวินชี (Davinci)

Teaching to be a genius like Davinci ตอน2: การพัฒนาการเรียนรู้ของสมอง ด้วยแนวคิด Brain Based Learning โดย อ.ดร.สุปัญญดา สุนทรนนธ์

ความหมายของการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน             การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน เป็นแนวความคิดของนักประสาทวิทยาและนักการศึกษา กลุ่มหนึ่ง ที่สนใจการทำงานของสมองมาประสานกับการจัดการศึกษา โดยนำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสมองมาใช้เป็นเครื่องมือในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพสูงสุดในการเรียนรู้ของมนุษย์แต่ละช่วงวัย สมองมนุษย์เป็นอวัยวะที่สำคัญที่สุดที่มนุษย์ต้องใช้ในการเรียนรู้ซึ่งมีผู้เชี่ยวชาญหรือนักวิชาการต่างได้ให้นิยาม หรือแนวทางที่แตกต่างกัน ดังนี้             เคน และเคน (Caine and Caine. 1989 : Web Site) อธิบายว่า การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานเป็นทฤษฎีการเรียนรู้ที่อยู่บนพื้นฐานของโครงสร้างและหน้าที่การทำงานของสมองหากสมองยังปฏิบัติตามกระบวนการทำงานปกติการเรียนรู้ก็ยังจะเกิดขึ้นต่อไป ทฤษฎีนี้เป็นสหวิทยาการเพื่อทำให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีที่สุดซึ่งมาจากงานวิจัยทางประสาทวิทยา           …

Continue ReadingTeaching to be a genius like Davinci ตอน2: การพัฒนาการเรียนรู้ของสมอง ด้วยแนวคิด Brain Based Learning โดย อ.ดร.สุปัญญดา สุนทรนนธ์