กระบวนการทางธุรกิจของระบบวิจัยการตลาด

ระบบวิจัยการตลาด เป็นสิ่งที่สามารถเชื่อมโยงลูกค้าและสังคม หรือกลุ่มคนภายนอกให้เข้ากับองค์กรโดยผ่านการใช้ข้อมูลข่าวสาร  ซึ่งมีการนำข้อมูลข่าวสารที่ได้ไปใช้  เพื่อบรรลุและกำหนดถึงโอกาสทางการตลาดสำหรับการสร้างปรับปรุง  และประเมินผลการดำเนินการทางการตลาด  การควบคุมปฏิบัติการทางการตลาด  และการปรับปรุงความเข้าใจในกระบวนการทางการตลาด  สถานการณ์ที่ชี้ให้ธุรกิจเห็นว่าควรมีการวิจัยตลาด  มีดังนี้          1. ธุรกิจมีข้อมูลไม่เพียงพอในการประกอบการประเมินทางเลือกในการตัดสินใจ          2. ธุรกิจไม่สามารถหาบทสรุปภายในองค์กรได้ระหว่างฝ่ายนโยบาย วัตถุประสงค์ และกลยุทธ์          3. ธุรกิจต้องการทราบผลลัพธ์ของแผนการตลาดที่กำลังนำมาใช้          4. ธุรกิจกำลังพัฒนาผลิตภัณฑ์ ปรับราคาใหม่ หรือเจาะตลาดใหม่          ระบบวิจัยการตลาด คือ ระบบที่พัฒนาขึ้น…

Continue Readingกระบวนการทางธุรกิจของระบบวิจัยการตลาด

รู้หรือไม่ ? ข้อมูลใดที่ควรมีในการทำแผนการตลาด

การที่จะเข้าถึงลูกค้า รับรู้ถึงความต้องการของลูกค้านั้น ธุรกิจต้องมีการศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้า วางแผนและสร้างความต้องการ ตลอดจนส่งเสริมการขายจนกระทั่งสินค้าถึงมือลูกค้า เมื่อศึกษาและทราบถึงความต้องการของลูกค้าแล้ว หน่วยงานทางการตลาดจะเป็นผู้วางแผน และตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดส่วนประสมทางการตลาด (marketing mix) ที่ทําให้การดําเนินงานทางการตลาดประสบความสําเร็จในขั้นต่อ ๆ ไป ดังนั้นการวางแผนทางการตลาดจะต้องประกอบไปด้วยข้อมูลต่าง ๆ ดังนี้ 1. ข้อมูลในการปฏิบัติงาน (Operations) เป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นระหว่างปฏิบัติงาน ได้แก่ ยอดขายของสินค้าและบริการ ข้อมูลต่าง ๆ ในการดำเนินงานด้านการตลาด ซึ่งข้อมูลที่ได้ระหว่างการปฏิบัติงานจะเป็นข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นจากการดําเนินงาน ข้อมูลเหล่านี้เมื่อมีการบันทึกไว้และจัดเก็บอย่างเป็นระบบ จะช่วยในการตรวจสอบ การควบคุม และวางแนวทางปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นในอนาคต…

Continue Readingรู้หรือไม่ ? ข้อมูลใดที่ควรมีในการทำแผนการตลาด

การแบ่งส่วนราชการภายในกรม

          สำหรับการแบ่งส่วนราชการภายในกรมนั้น ในกรณีที่เป็นกรมหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม หากประสงค์จะแบ่งส่วนราชการก็ต้องดำเนินการโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงออกเป็นกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการเพื่อกำหนดให้มีส่วนราชการภายในของกรมนั้น ซึ่งส่วนราชการภายในที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการจะต้องมีฐานะเป็นกองหรือส่วนราชการที่มีฐานะเทียบกอง และในกรณีที่กรมใดมีความจำเป็นจะแบ่งส่วนราชการโดยให้มีส่วนราชการอื่นนอกจากสำนักงานเลขานุการกรมหรือกองก็ได้ กล่าวคือ อาจกำหนดให้มีส่วนราชการที่มีฐานะสูงกว่ากอง เช่น สำนัก สถาบัน ศูนย์ เป็นต้น           กรมซึ่งสังกัดหรือไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง อาจแบ่งส่วนราชการดังนี้            (1) สำนักงานเลขานุการกรม            (2) กองหรือส่วนราชการที่มีฐานะเทียบกอง เว้นแต่บางกรมเห็นว่าไม่มีความจำเป็นจะไม่แยกส่วนราชการตั้งขึ้นเป็นกองก็ได้           กรมใดมีความจำเป็น จะแบ่งส่วนราชการโดยให้มีส่วนราชการอื่นนอกจาก (1) หรือ…

Continue Readingการแบ่งส่วนราชการภายในกรม