การบริหารเงินคงคลังและเงินสะสมของท้องถิ่น

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

การอธิบายเงินคงคลังและเงินสะสมของท้องถิ่นนั้น สามารถอ้างอิงระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและการตรวจสอบเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2547 ซึ่งวางหลักเกณฑ์ปฏิบัติในเรื่องเกี่ยวกับการบริหารเงินคงคลังและเงินสะสมของ อปท. ไว้ซึ่งจะแยกอธิบายเป็นเงินคงคลัง และเงินสะสมของท้องถิ่นตามประเด็นดังนี้ เงินคงคลังท้องถิ่น หมายถึงเงินสดที่ถูกเก็บไว้ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือธนาคารเพื่อสามารถเบิกจ่ายเงินดังกล่าวใช้จ่ายในกิจการของท้องถิ่นอย่างสะดวก การเก็บรักษาเงิน กำหนดให้ อปท. นำเงินที่รับฝากธนาคารไว้ทั้งจำนวน หากฝากไม่ทันให้เก็บเงินในตูนิรภัยแล้ววันรุ่งขึ้นให้เจ้าหน้าที่การคลังให้นำฝากทั้งจำนวน หาก อปท. อยู่ไกลไม่สามารถฝากได้ทุกวันก็ให้ฝากในวันสุดท้ายของสัปดาห์แทน ส่วนในกรณีที่เป็นเงินสดที่ไม่สามารถนำฝากธนาคารได้ก็ให้เก็บรักษาไว้ในตู้นิรภัยและให้แต่งตั้งกรรมการเก็บรักษาเงินอย่างน้อย 3 คน การเบิกเงิน ในการเบิกเงินมาใช้ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการนั้น หน่วยงานใน อปท. ต้องจัดทำแผนการเบิกจ่ายเงินตามงบประมาณรายจ่ายประจำปีทุก 3…

Continue Readingการบริหารเงินคงคลังและเงินสะสมของท้องถิ่น

การบริหารการคลังท้องถิ่น

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

การบริหารการคลังถือเป็นหัวใจสำคัญในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศักยภาพทางการคลังย่อมสามารถจัดบริการสาธารณะที่ตอบสนองต่อความต้องการและความจำเป็นของประชาชนในพื้นที่บริการได้ รวมทั้งยังสามารถสร้างสรรค์บริการสาธารณะในรูปแบบใหม่ๆ หรือนวัตกรรมในการบริการสาะรณะเพื่อพัฒนาคุณภาพการบริการให้มากยิ่งขึ้น กล่าวได้ว่า การมีศักยภาพทางการคลังเป็นเงื่อนไขสำคัญประการหนึ่งที่ทำให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถจัดบริการสาธารณะได้สำเร็จลุล่วงและมีคุณภาพ นอกจากนี้การที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีศักยภาพทางการคลังที่เข้มแข็ง ยังแสดงให้เห็นถึงความสำเร็จของการกระจายอำนาจทางการคลัง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศักยภาพทางการคลังที่เข้มแข็งจะสามารถบริหารการคลังได้อย่างอิสระและสามารถพึ่งพาตนเองได้ กล่าวคือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะมีอำนาจในการตัดสินใจ (Local Sovereignty) ใช้จ่ายงบประมาณจากแหล่งรายได้ของท้องถิ่นได้อย่างเต็มที่และมิต้องพึ่งพิงงบประมาณอุดหนุนจากรัฐบาลเป็นหลัก[1] การบริหารการคลังท้องถิ่นของไทย มีการดำเนินการตามกรอบกฎหมาย ระเบียบ และแนวทางการปฏิบัติที่สามารถอธิบายกระบวนการบริหารการคลังได้เป็น 4 ประเด็นสำคัญ ได้แก่ การบริหารรายได้ของท้องถิ่น การบริหารรายจ่ายของท้องถิ่น การบริหารเงินคงคลังและเงินสะสม และการจัดทำงบประมาณท้องถิ่น ซึ่งกรอบกระบวนการและมีรายละเอียดดังนี้ การบริหารรายได้ท้องถิ่น           ปัจจุบันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทยมีรายได้มาจากภาษีอากร (Tax…

Continue Readingการบริหารการคลังท้องถิ่น

การใช้ Call Options สำหรับผู้นำเข้า

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

ถ้าผู้นำเข้า สั่งซื้อสินค้าจากสหรัฐอเมริกา และมีความเห็นว่าค่าเงิน USD มีแนวโน้มจะอ่อนค่าลงกว่าระดับปัจจุบัน แต่ยังเกรงว่าค่าเงิน USD อาจแข็งค่าขึ้น จึงต้องการลดความเสี่ยงนี้ ด้วยการซื้อ Call Options  หรือสิทธิที่จะซื้อ เงิน USD ที่ระดับ Strike Rate ดังนั้น หาก USD แข็งค่าขึ้นในอนาคต จนสูงกว่า  Strike Rate ก็ควรเลือกที่จะใช้สิทธิที่จะซื้อ การซื้อ Call Options  สำหรับผู้นำเข้า…

Continue Readingการใช้ Call Options สำหรับผู้นำเข้า