ตัวแบบความเกี่ยวข้องในการกำหนดมูลค่าหลักทรัพย์ (2)

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

จากตัวแบบ Ohlson (1995) ที่อธิบายไว้ใน Post ที่แล้ว แสดงได้ดังนี้ Pit       =        ß0 + ß1EPSit + ß2BVSit + ß3Vit + eit ตัวแปร Pit นักวิจัยก็กำหนดนิยามที่แตกต่างกันไป เช่น งานวิจัยของ Badu และ Appiah (2018) ใช้ราคาหุ้น 3 เดือนหลังสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี…

Continue Readingตัวแบบความเกี่ยวข้องในการกำหนดมูลค่าหลักทรัพย์ (2)

ตัวแบบความเกี่ยวข้องในการกำหนดมูลค่าหลักทรัพย์ (1)

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

งานวิจัยที่ใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในงบการเงินและตลาดทุนนั้น เรียกว่า Capital Market-based Accounting Research หรือ CMBAR (Beisland, 2009) โดยงานวิจัยที่เป็นจุดเริ่มต้นการหาความสัมพันธ์ดังกล่าวคือ งานวิจัยของ Ball และ Brown (1968) ซึ่งสรุปผลว่ากำไรทางบัญชีมีความสัมพันธ์กับราคาหลักทรัพย์ หลังจากนั้นงานวิจัยในลักษณะ CMBAR จึงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน และตัวแบบที่ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายและยังคงได้รับความนิยมคือ ตัวแบบ Ohlson (1995) ซึ่งแสดงได้ดังนี้                    Pit       =        ß0 +…

Continue Readingตัวแบบความเกี่ยวข้องในการกำหนดมูลค่าหลักทรัพย์ (1)

หลักเกณฑ์ทางบัญชีและภาษีอากร: ประเด็นเกี่ยวกับภาษีเงินได้นิติบุคคล (5)

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

มาตรา 65 ทวิ (บางส่วน) หลักเกณฑ์ทางภาษี: ราคาทรัพย์สินอื่นนอกจาก (6) (วงเล็บ 6 หมายถึง สินค้าคงเหลือให้ใช้ราคาทุนหรือราคาตลาดแล้วแต่อย่างใดจะต่ำกว่า หรือเรียกว่า LCM: Lower of Cost or Market Value) ให้ถือตามราคาที่พึงซื้อทรัพย์สินนั้นได้ตามปกติ และในกรณีที่มีการตีราคาทรัพย์สินเพิ่มขึ้น ห้ามมิให้นำราคาที่ตีราคาเพิ่มขึ้นมารวมคำนวณกำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ ส่วนทรัพย์สินรายการใดมีสิทธิหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา ก็ให้หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาในการคำนวณกำไรสุทธิ หรือขาดทุนสุทธิตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และอัตราเดิมที่ใช้อยู่ก่อนตีราคาทรัพย์สินเพิ่มขึ้น โดยให้หักเพียงเท่าที่ระยะเวลา และมูลค่าต้นทุนที่เหลืออยู่สำหรับทรัพย์สินนั้นเท่านั้น…

Continue Readingหลักเกณฑ์ทางบัญชีและภาษีอากร: ประเด็นเกี่ยวกับภาษีเงินได้นิติบุคคล (5)