แนวคิดเกี่ยวกับความแตกต่างของการให้เหตุผลแบบอุปนัย Induction/Inductive reasoning และ การให้เหตุผลแบบนิรนัย Deduction/Deductive reasoning

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

•การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Induction/Inductive reasoning) “วิธีการสรุปในการค้นคว้าความจริงจากการสังเกต หรือทดลองหลายๆครั้งจากกรณีย่อยๆต่างๆ แล้วนำมาประกอบและสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป เป็นการรวบรวมข้อมูลสำหรับประชากรส่วนย่อย เพื่อไปสรุปเป็นข้อสรุปของประชากรส่วนใหญ่” •การให้เหตุผลแบบนิรนัย (Deduction/Deductive reasoning) “เป็นการนำความรู้พื้นฐาน ความเชื่อ ข้อตกลง กฎ บทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อนและยอมรับเป็นจริง เพื่อหาเหตุและนำไปสู่ข้อสรุป” Reference จากเอกสารการบรรยายวิชาการเรื่อง การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis)การจัดทำโครงงานฯที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพA Project based-on Qualitative Data Analysis โดย ผศ.ดร.ณัฐศิษฏ์…

Continue Readingแนวคิดเกี่ยวกับความแตกต่างของการให้เหตุผลแบบอุปนัย Induction/Inductive reasoning และ การให้เหตุผลแบบนิรนัย Deduction/Deductive reasoning

Introduction to AHP เพื่องานวิจัยแบบหลายเกณฑ์ (Multi-Criterion Decision Making)

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

AHP (Analytic Hierarchy Process) เป็นกระบวนการตัดสินใจแบบหลายเกณฑ์ (Multi-criteria Decision Making) ที่ช่วยให้เราสามารถเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดจากทางเลือกที่มีอยู่หลายทางเลือก โดย AHP จะทำการวิเคราะห์ทางเลือกต่างๆ โดยใช้ลำดับชั้น (Hierarchy) ของเกณฑ์การตัดสินใจ ใน AHP ลำดับชั้นของเกณฑ์การตัดสินใจจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลักๆ คือ วัตถุประสงค์ (Objectives) คือ เป้าหมายที่เราต้องการบรรลุ เกณฑ์การตัดสินใจ (Decision Criteria) คือ ปัจจัยต่างๆ ที่ใช้ในการพิจารณาทางเลือกต่างๆ AHP…

Continue ReadingIntroduction to AHP เพื่องานวิจัยแบบหลายเกณฑ์ (Multi-Criterion Decision Making)