ตัวแบบความเกี่ยวข้องในการกำหนดมูลค่าหลักทรัพย์ (1)

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

งานวิจัยที่ใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในงบการเงินและตลาดทุนนั้น เรียกว่า Capital Market-based Accounting Research หรือ CMBAR (Beisland, 2009) โดยงานวิจัยที่เป็นจุดเริ่มต้นการหาความสัมพันธ์ดังกล่าวคือ งานวิจัยของ Ball และ Brown (1968) ซึ่งสรุปผลว่ากำไรทางบัญชีมีความสัมพันธ์กับราคาหลักทรัพย์ หลังจากนั้นงานวิจัยในลักษณะ CMBAR จึงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน และตัวแบบที่ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายและยังคงได้รับความนิยมคือ ตัวแบบ Ohlson (1995) ซึ่งแสดงได้ดังนี้                    Pit       =        ß0 +…

Continue Readingตัวแบบความเกี่ยวข้องในการกำหนดมูลค่าหลักทรัพย์ (1)

ตัวอย่างโครงงานการศึกษากระแสงานของการทำงานออกแบบร่วมกันบน Autodesk Construction Cloud (ACC) A Study of Work Flow with Synchronization of Design Process on Autodesk Construction Cloud (ACC) โดย ถนอม สีหะไตรย์ จิรภัทร ชลปฐมพิกุลเลิศ และ ณัฐศิษฏ์ ใจสอาด

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษาในเชิงเปรียบเทียบกระบวนการทำงานร่วมกันภายในฝ่ายออกแบบที่เป็นกระบวนการทำงานร่วมกันในแบบดั้งเดิม และกระบวนการทำงานร่วมกันโดยอาศัย Autodesk Construction Cloud (ACC) เข้ามาสนับสนุนในกระบวนการทำงานออกแบบร่วมกัน 2) เพื่อให้ข้อเสนอแนะแนวคิดกระแสงาน (Work flow) ของกระบวนการทำงานร่วมกันโดยอาศัย ACC เพื่อนำมาปรับใช้สำหรับโครงการก่อสร้างที่ใช้ ทดแทนกระบวนการทำงานร่วมกันแบบดั้งเดิม บุคคากรในการวิจัยนี้คือกลุ่มบุคลากรสถาปนิก วิศวกร เจ้าหน้าที่ เขียนแบบ และเจ้าหน้าที่ประมาณราคา  จำนวน 10 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ การสัมภาษณ์เชิงลึก การ วิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ…

Continue Readingตัวอย่างโครงงานการศึกษากระแสงานของการทำงานออกแบบร่วมกันบน Autodesk Construction Cloud (ACC) A Study of Work Flow with Synchronization of Design Process on Autodesk Construction Cloud (ACC) โดย ถนอม สีหะไตรย์ จิรภัทร ชลปฐมพิกุลเลิศ และ ณัฐศิษฏ์ ใจสอาด

แนวคิดในการแก้ไขปัญหาความล่าช้าสำหรับโครงการก่อสร้างภาครัฐ ผ่านความรับผิดชอบของผู้ควบคุมงานก่อสร้าง (ส่วนที่ 3 สุดท้าย) โดย ผศ.ดร.ณัฐศิษฏ์ ใจสอาด

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

ทั้งนี้ผู้ควบคุมงานวิเคราะห์สาเหตุของความล่าช้าที่อ้างไม่ได้ของผู้รับเหมาก่อสร้าง (Nonexcusable Delay by Contractor’s Responsibility) อ้างอิงจาก Assaf & Al-Hejji (2006)1 ประกอบด้วย▪ ความล่าช้าเกี่ยวกับวัสดุ ▪ ความล่าช้าเกี่ยวกับแรงงาน ▪ ความล่าช้าเกี่ยวกับเครื่องจักรและอุปกรณ์ ▪ ความล่าช้าเกี่ยวกับการเงิน (ขาดการวางแผน ขาดเครื่องมือวิเคราะห์ ติดตาม ขาดการควบคุม ตรวจสอบ)▪ ความล่าช้าเกี่ยวกับแผนงานก่อสร้าง ▪ ความล่าช้าเกี่ยวกับการบริหารและการจัดการ (ขาดประสบการณ์ วิธีการปฏิบัติงานไม่ถูกต้อง ไม่มี…

Continue Readingแนวคิดในการแก้ไขปัญหาความล่าช้าสำหรับโครงการก่อสร้างภาครัฐ ผ่านความรับผิดชอบของผู้ควบคุมงานก่อสร้าง (ส่วนที่ 3 สุดท้าย) โดย ผศ.ดร.ณัฐศิษฏ์ ใจสอาด