การวิเคราะห์เชิงวินิจฉัย (Diagnostic analytics)

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

การวิเคราะห์เชิงวินิจฉัย เป็นการวิเคราะห์เพื่อช่วยผู้บริหารวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้น โดยหาสาเหตุของปัญหาหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อตอบคำถามที่ว่า “Why it happened ทำไมจึงเกิดขึ้น หรือทำไมจึงเป็นเช่นนั้น” ทำให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ (insight) ถึงเหตุผล หรือปัจจัยต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อธุรกิจ การวิเคราะห์เชิงวินิจฉัยสามารถทำได้ดังนี้ การใช้เทคนิคเชิงคณิตศาสตร์และเชิงสถิติ ในการทำ Profiling เช่น สำรวจหารายการค้าที่ผิดปกติ หรือเปรียบเทียบข้อมูลที่สนใจกับค่าเฉลี่ยหรือค่ามาตรฐาน เป็นต้น การวิเคราะห์เชิงวินิจฉัยในลักษณะการจัดกลุ่ม (Clustering) ข้อมูล เช่น การจัดกลุ่มลูกหนี้แยกตามอายุหนี้ จะทำให้ทราบว่ากลุ่มลูกหนี้ที่เป็นปัญหาค้างชำระนาน เป็นต้น การใช้วิธีการจับคู่ความคล้ายคลึงกัน…

Continue Readingการวิเคราะห์เชิงวินิจฉัย (Diagnostic analytics)

ดาต้า อนาไลติกส์: การวิเคราะห์เชิงพรรณนา

  • Post author:
  • Post category:Uncategorized

การวิเคราะห์เชิงพรรณนา (Descriptive analytics)เป็นการวิเคราะห์ที่ใช้กันมากที่สุด เป็นแบบ พื้นฐานที่ง่ายที่สุด มักนำมาใช้กับรายการธุรกิจ เหตุการณ์หรือกิจกรรมทางธุรกิจที่เกิดขึ้นแล้ว เพื่อตอบคำถามที่ว่า What happened ? “ที่ผ่านมาอะไรเกิดขึ้น” โดยมักนำเสนอเพื่อสรุปภาพรวม (Summary) ซึ่งสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นสถิติเชิงพรรณนาเพื่ออธิบายลักษณะของชุดข้อมูล เช่น ค่าเฉลี่ย ค่ากลาง ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด จำนวนนับหรือค่าความถี่ ร้อยละของยอดรวม เป็นต้น นอกจากใช้เพื่ออธิบายลักษณะของชุดข้อมูลแล้ว ยังนำมาใช้เพื่อลดจำนวนข้อมูล (Data reduction or Filtering)  จากข้อมูลที่มีจำนวนมากมาย…

Continue Readingดาต้า อนาไลติกส์: การวิเคราะห์เชิงพรรณนา

การจัดการการเปลี่ยนแปลงด้านนวัตกรรม ตอนที่ 5

การเปลี่ยนแปลงด้านนวัตกรรมในอุตสาหกรรมหรือธุรกิจมีหลายระดับ ในบางครั้งอาจเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงและรวดเร็ว ส่งผลต่อการเปลี่ยนพื้นฐานของสังคมไปอย่างสิ้นเชิง เช่น เกิดการปฏิวัติเครื่องจักรไอน้ำมาใช้นํ้ามัน หรือการเปลี่ยนแปลงทางด้านการโทรคมนาคมที่ส่งผลทําให้ระบบโทรเลขและเพจเจอร์หายไป ซึ่งกระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านนวัตกรรมมีรายละเอียดดังนี้ กระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านนวัตกรรม กระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านนวัตกรรมคือ การเปลี่ยนแปลงทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรอื่นให้นำไปสู่ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ในกรณีที่ทรัพยากรมีความพร้อมในทุกๆด้านไม่ว่าจะเป็นความสามารถ การมีทัศนคติที่ดี ความเฉียบคมทางสติปัญญา รวมทั้งความสัมพันธ์ที่ดี องค์การที่เอื้ออำนวย การพัฒนาและทำใหม่อยู่เสมอ และการเงินพร้อมสนับสนุน ดังนั้น กระบวนการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้เกิดนวัตกรรมก็คือ การคิด (Thinking) และการสร้างวิสัยทัศน์ (Vision) นั่นเอง การจะให้ทรัพยากรมนุษย์สร้างนวัตกรรมใหม่ๆ เกิดขึ้นได้ พื้นฐานที่สำคัญอยู่ที่การสร้างนักคิด (Thinker) ให้เกิดขึ้น การคิดเพื่อสร้างผลกำไรในอนาคตจะต้องสอดคล้องต่อกลยุทธ์ขององค์การ ดังนี้…

Continue Readingการจัดการการเปลี่ยนแปลงด้านนวัตกรรม ตอนที่ 5